-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
-
ทั้งแผ่นหลังมีลวดลายเป็นรูปบั้งหัวกลับ ลักษณะเป็นแถบสีครีมหลายแถบขนานกันตามขอบหลังเข้ามาตรงกลางจนส่วนบนชนกันที่ท้ายทอย เอวมีจุดกลมใหญ่สีดำ 2 จุด ล้อมรอบด้วยแถบหลายแถบขนานกันเหมือนแถบที่ขอบหลัง บนหัวและท้ายทอยมีแถบสีดำพาดขวาง ขามีลายพาดสีเข้ม ก้น ท้อง ขาหนีบ และใต้ขามีสีเหลืองสด ตัวผู้ใต้คางมีสีดำ พบทางภาคตะวันตก ภาคเหนือ และภาคตะวันออก
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
เชียงใหม่,แพร่,พิษณุโลก,เลย,หนองคาย,กาฬสินธุ์,นคราชสีมา,ฉะเชิงเทรา,จันทบุรี,อุทัยธานี,นครศรีธรรมราช
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
ตราด
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
ลำพูน, เชียงราย
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
Chiang Mai (Doi Chiang Dao); Phrae (Mae Yom); Phitsanulok
Painted Chorus Frog (Wat Bos); Loei (Phu Rue); Nong Khai (Phu Wua); Kalasin
(Phu Si Than); Nakhon Ratchasima (Sakaerat); Chachoengsao
(Khao Ang Rue Ni); Srakaew (Ko Klan, Pang Sida, Ta Praya);
Chanthaburi (Khao Sebab); Uthai Thani (Haui Khakhaeng);
Nakhon Si Thammarat.
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ น้ำตกคลองแก้ว
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน, ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
ระบบนิเวศ :
-
ชนิดพันธุ์นี้พบอาศัยอยู่ในป่าหลากหลายแบบ รวมทั้งในพื้นที่เกษตรกรรม
-
Inhabits deciduous forest.
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
การกระจายพันธุ์ :
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยแพร่หลายในภาคกลาง เหนือ ตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อุทัยธานี สระบุรี อ่างทอง นครสวรรค์ เชียงใหม่ เลย นครราชสีมา สระแก้ว จันทบุรี ชลบุรี
-
แหล่งอาศัยในประเทศไทยแพร่หลายในภาคกลาง เหนือ ตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น อุทัยธานี สระบุรี อ่างทอง นครสวรรค์ เชียงใหม่ เลย นครราชสีมา สระแก้ว จันทบุรี ชลบุรี