-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
อึ่งแม่หนาวเป็นอึ่งขนาดกลาง ความยาวจากหัวถึงก้น 3-4 เซนติเมตร หน้าค่อนข้างแหลมระยะห่างระหว่างตาพอๆ กับความกว้างเปลือกตา แผ่นหูไม่ปรากฏ นิ้วเรียว มือไม่มีพังผืด ฝ่ามือมีปุ่มขนาดใหญ่ โดยด้านนอกปุ่มขนาดใหญ่กว่า ขายาว ตีนมีพังผืดเต็มความยาวของนิ้ว ปุ่มบนฝ่าเท้าด้านนอกเล็กกว่าด้านใน ลำตัวด้านบนสีเทา สีน้ำตาลเทา หรือสีน้ำตาลแดง มีลายเส้นคล้ายรูปน้ำเต้าหรือรูปนาฬิกาทรายสีน้ำตาลและสีดำบนหลัง โดยลายบริเวณไหล่ ท้อง และตะโพกอาจยาวเป็นแถบลงมาทางสีข้างขอบลายอาจมีสีขาว ขามีลายพาดสีเทาเข้ม สีข้างมีลายจุดสีดำ ท้องสีขาวเหลือง ฝ่าตีนสีดำ เพศผู้มีถุงขยายเสียงและคางสีดำ
-
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยอยู่ตามพื้นป่าใกล้ลำธาร ผสมพันธุ์และวางไข่บริเวณริมแอ่งน้ำหรือริมลำธาร กินมด ปลวก และแมลงเป็นอาหาร
-
ชนิดพันธุ์นี้พบอาศัยอยู่ในป่าดิบชื้น ผสมพันธุ์และวางไข่ในแอ่งน้ำนิ่งข้างลำธาร
-
Inhabits the forest floor closed to the streams. Breeds in side pools of streams.
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศป่าไม้
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครพนม
-
แม่ฮ่องสอน,เชียงใหม่,เลย,กาฬสินธุ์,นคราชสีมา,สระแก้ว,ฉะเชิงเทรา,ตาก,แพร่,เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,นครศรีธรรมราช
-
เลย
-
พะเยา
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
อุตรดิตถ์
-
ตรัง, พัทลุง, สตูล, สงขลา
-
พะเยา
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
กระบี่
-
ลำพูน
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
แม่น้ำสงครามตอนล่าง
-
Mae Hong Son (Pang Tong); Chiang Mai (Mae Rim); Loei
(Phu Luang); Nong Khai (Phu Wua); Kalasin (Phu Si Than);
Chaiyaphum (Phu Kieo); Nakhon Ratchasima (Khao Yai,
Sakaerat); Srakaew (Pang Sida); Chachengsao (Khao Ang Rue
Ni); Tak (Thung Yai, Um Pang); Phrae (Mae Yom); Uthai
Thani (Haui Khakhaeng); Kanchanaburi (Erawan); Phetchaburi
(Kaengkrachan); Prachuap Khirikhan (Pa-La-U); Surat Thani
(Khao Sok); Krabi (Khao Panom Bencha); Nakhnon Si Thammarat
(Khao Luang); Trang (Khao Chong); Songkhla (Ton Ngachang);
Yala (Banangstar); Narathiwat (Waeng).
-
ป่าภูหลวง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า น้ำปาด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เวียงลอ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่เลา-แม่แสะ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าแม่ธิ แม่ตีบ แม่สาร ลำพูน
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
การกระจายพันธุ์ :
-
ในจังหวัดตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
-
ในจังหวัดตาก อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ ตรัง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส