Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Michelia champaca
Michelia champaca
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Michelia champaca
L.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
จำปา
-
จำปาเขา
-
จำปาป่า
ชื่อท้องถิ่น::
-
จำปาทอง จำปาป่า จำปากอ จำปาเขา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Magnoliaceae
สกุล:
Magnolia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:38 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงถึง 35 ม. มีหูใบหุ้มตาใบ และแนบติดกับก้านใบ ใบ เดี่ยว ออกแบบเวียนเป็นวงรอบ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ถึง รูปไข่ กว้าง 4-9 ซม.ยาว 10-20 ซม.ก้านใบมีรอยหูใบที่หลุดร่วง กลีบรวม สีเหลืองส้ม รูปใบหอกกลับ กว้าง 1.0-1.5 ซม.ยาว 4.0-4.5 ซม. กลีบชั้นในจะแคบกว่า เกสรเพศผู้ แยกจากกัน รังไข่จำนวนมากแยกจากกัน ผล แบบผลกลุ่ม เมื่อแห้งแตกเป็นแนวเดียว
-
ไม้ต้น สูงถึง 35 ม. มีหูใบหุ้มตาใบ และแนบติดกับก้านใบ ใบ เดี่ยว ออกแบบเวียนเป็นวงรอบ รูปใบหอกแกมรูปขอบขนาน ถึง รูปไข่ กว้าง 4-9 ซม.ยาว 10-20 ซม.ก้านใบมีรอยหูใบที่หลุดร่วง กลีบรวม สีเหลืองส้ม รูปใบหอกกลับ กว้าง 1.0-1.5 ซม.ยาว 4.0-4.5 ซม. กลีบชั้นในจะแคบกว่า เกสรเพศผู้ แยกจากกัน รังไข่จำนวนมากแยกจากกัน ผล แบบผลกลุ่ม เมื่อแห้งแตกเป็นแนวเดียว
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย พม่า เนปาล อินโดจีน และทางทิศตะวันตกถึงทิศใต้ของจีน และเป็นพืชปลูกหลายประเทศในเขตอบอุ่น พบในป่าดงดิบที่ระดับต่ำ 200-1000 ม. จากน้ำทะเล
-
อินเดีย พม่า เนปาล อินโดจีน และทางทิศตะวันตกถึงทิศใต้ของจีน และเป็นพืชปลูกหลายประเทศในเขตอบอุ่น พบในป่าดงดิบที่ระดับต่ำ 200-1000 ม. จากน้ำทะเล
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
จันทบุรี
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ราชบุรี
-
ชุมพร
-
ยะลา, นราธิวาส
-
ศรีสะเกษ, อุดรธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, เขตอำเภอจอมทอง อำเภอแม่แจ่ม อำเภอแม่วาง และกิ่งอำเภอดอยหล่อ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองเครือหวาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุทยานเสด็จในกรมหลวงชุมพร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ฮาลา-บาลา
-
โครงการปลูกป่าบก วนอุทยานน้ำตกคอยนาง และ อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารในจังหวัดศรีสะเกษ และอุดรธานี พื้นที่ 5,530 ไร่
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน), 2566
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Elaeocarpus angustifolius
Gymnostachym gracile
Typhonium reflexum
Mezonevron furfuraceum
มะฮู้ไข่ปู
Rubus alceifolius
Blumeopsis flava
Previous
Next