Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Merremia vitifolia
Merremia vitifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Merremia vitifolia
(Burm.fil.) Hall.fil.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
จิงจ้อเหลือง
ชื่อท้องถิ่น::
-
จิงจ้อขน จิงจ้อหลวง จิงจ้อใหญ่
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Solanales
วงศ์::
Convolvulaceae
สกุล:
Camonea
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา มักทอดเลื้อยต่ำๆ ลำต้นกลม ตามกิ่งก้านมีขนแข็งสีขาว หรือสีน้ำตาลอ่อน กระจายทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปเกือบกลม กว้าง 5-16 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นแฉกรูปพัด 5-7 แฉก ปลายแหลมและมีติ่งสั้น มีขนประปรายทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-15 ซม. ดอกสีเหลืองสด ออกเป็นช่อตามง่ามใบ มักมี 1-3 ดอก ก้านช่อดอกยาว 1-15 ซม. ก้านดอกยาว 0.8-2 ซม. กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยปากแตร กว้าง 4-6 ซม. ที่กลางกลีบมีเส้นแขนง เป็นแถบเห็นได้ชัด อับเรณูบิดเป็นเกลียว ผลแห้งกึ่งกลม ขนาดยาว 10-25 มม. ผิวค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง สีคล้ายฝาง มีช่องเปิด 4 ช่อง เมล็ดมี 4 เมล็ดหรือน้อยกว่า ยาว 6-7 มม. สีดำหรือน้ำตาลดำ ผิวเกลี้ยง
-
ไม้เถา มักทอดเลื้อยต่ำๆ ลำต้นกลม ตามกิ่งก้านมีขนแข็งสีขาว หรือสีน้ำตาลอ่อน กระจายทั่วไป ใบเป็นใบเดี่ยว รูปเกือบกลม กว้าง 5-16 ซม. ยาว 5-18 ซม. โคนใบรูปหัวใจ ขอบใบจักเป็นแฉกรูปพัด 5-7 แฉก ปลายแหลมและมีติ่งสั้น มีขนประปรายทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-15 ซม. ดอกสีเหลืองสด ออกเป็นช่อตามง่ามใบ มักมี 1-3 ดอก ก้านช่อดอกยาว 1-15 ซม. ก้านดอกยาว 0.8-2 ซม. กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยปากแตร กว้าง 4-6 ซม. ที่กลางกลีบมีเส้นแขนง เป็นแถบเห็นได้ชัด อับเรณูบิดเป็นเกลียว ผลแห้งกึ่งกลม ขนาดยาว 10-25 มม. ผิวค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง สีคล้ายฝาง มีช่องเปิด 4 ช่อง เมล็ดมี 4 เมล็ดหรือน้อยกว่า ยาว 6-7 มม. สีดำหรือน้ำตาลดำ ผิวเกลี้ยง
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา อินโดจีน จนถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบตามที่แห้งแล้ง ทุ่งหญ้า ไร่ร้าง ป่าเบญจพรรณ ริมฝั่งน้ำและสองข้างทาง ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนถึง 500 เมตร ระยะการออกดอกระหว่างเดือนตุลาคม-มีนาคม
-
พบตั้งแต่อินเดีย ศรีลังกา อินโดจีน จนถึงมาเลเซีย ในประเทศไทยพบตามที่แห้งแล้ง ทุ่งหญ้า ไร่ร้าง ป่าเบญจพรรณ ริมฝั่งน้ำและสองข้างทาง ตั้งแต่ระดับน้ำทะเล จนถึง 500 เมตร ระยะการออกดอกระหว่างเดือนตุลาคม-มีนาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
ลำปาง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Helianthus angustifolius
Lithocarpus rufescens
Leonurus artemisia
Thuarea involuta
Cryptocoryne crispatula
เครือหนามข้อ
Jasminum coarctatum
Previous
Next