-
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
กขนาดเล็ก (30 ซม.) ปากโค้ง แหลมค่อนข้างยาว มีสีดำ จากโคนปากมีแถบสีดำคาดตาเลยมาถึงบริเวณหู ลำตัวส่วนใหญ่จะเป็นสีเขียวตลอดจนถึงหัว ท้องสีจะจางลงเป็นสีเขียวแกมเหลือง บริเวณคางสีขาว คอด้านล่างสีน้ำตาลแดง ตะโพก และหางเป็น
สีฟ้า
-
หัวเขียวแกมน้ำตาลแดง แถบตาดำ ใต้แถบตาและคางขาวแกมเหลือง คอและอกตอนบนสีส้มแกมน้ำตาล ตะโพกฟ้าวาว หางสีฟ้า หางคู่กลางยาว
-
ระบบนิเวศ :
-
พบตามทุ่งโล่ง โดยเฉพาะบริเวณใกล้แหล่งน้ำ อาหารได้แก่ แมลงชนิดต่างๆ โดยเฉพาะผึ้ง โดยการโฉบจับด้วยปากในอากาศ เมื่อได้แล้วจะบินกลับไปเกาะที่เดิมเพื่อกินเหยื่อ
-
พื้นที่เปิดโล่งใกล้น้ำ
-
ทุ่งหญ้า/ทุ่งนา/หญ้าสูง/ไม้พุ่มริมน้ำ นกประจำถิ่น/นกอพยพในฤดูหนาว/นกอพยพผ่านในฤดูหนาว
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
ทุ่งหญ้า
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อุทยานแห่งชาติผาแต้ม อุบลราชธานี, อุทยานแห่งชาติมุกดาหาร (ภูผาเติบ)
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
กำแพงเพชร
-
อุตรดิตถ์,แพร่,น่าน,พะเยา
-
น่าน
-
กำแพงเพชร
-
พิษณุโลก
-
บุรีรัมย์
-
กระบี่
-
สมุทรปราการ
-
นนทบุรี
-
ฉะเชิงเทรา
-
นนทบุรี
-
กรุงเทพมหานคร
-
กรุงเทพมหานคร
-
กระบี่, ระนอง, นครสวรรค์
-
ยะลา,ปัตตานี
-
การขยายพันธุ์ :
-
ผสมพันธุ์ในช่วงเดือนเมษายน -สิงหาคม สร้างรังโดยการขุดโพรงตามริมตลิ่ง ไข่สีขาว ในแต่ละรังมีไข่ 4-7 ฟอง ระยะเวลาฟักไข่ 13-14 วัน
-
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ลุ่มน้ำปิง, คลองสวนหมาก
-
ลุ่มน้ำอิง,ลุ่มน้ำยม,ลุ่มน้ำน่าน
-
พื้นที่เกษตรกรรม บริเวณหน่วยจัดการต้นน้ำน้ำแหน อำเภอท่าวังผา และพื้นที่ใกล้เคียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสนามเพรียง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเมี่ยง-ภูทอง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครใต้ อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ป่าคลองกาโหรด และป่าคลองหิน กระบี่, ป่าละอุ่น และป่าราชกรูด ระนอง, ป่าแม่วงก์ - แม่เปิน นครสวรรค์
-
พรุลานควาย
-
การกระจายพันธุ์ :
-
นกประจำถิ่น, นกอพยพมาทำรังวางไข่