Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Melogale personata
Melogale personata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Melogale personata
I.Geoffroy Saint-Hilaire, 1831
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
burmese ferret-badger
-
Large-toothed Ferret Badger
-
Burmese ferret badger
ชื่อไทย::
-
หมาหริ่ง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Carnivora
วงศ์::
Mustelidae
สกุล:
Melogale
วันที่อัพเดท :
2 ก.ค. 2562 10:42 น.
วันที่สร้าง:
2 ก.ค. 2562 10:42 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
หมาหริ่งมีรูปร่างคล้ายเพียงพอนผสมกับหมูหริ่ง มีปลายปากและจมูกยาวเหมือนหมูหริ่ง และมีเล็บยาวเพื่อใช้ในการขุดดิน มีรูปร่างต่างจากหมูหริ่งที่มีขนาด และมีหูใหญ่กว่า และหางยาวกว่า ขาค่อนข้างสั้น และเท้ากว้าง อุ้งเท้าค่อนข้างยาว แสดงให้เห็นว่าหมาหริ่งสามารถปืนต้นไม้ได้ดี ขนล้าตัวของหมาหริ่งมีสีน้้าตาลปนเทา หรือ ด้า มีแถบสีขาวที่เหนือจมูกระหว่างตาทั้งสอง ใต้ปาก คาง คอและหลังตามีขนสีขาว นอกจากนี้ยังมีแถบขนสีขาวยาวพาดจากหัวไปยังกลางหลัง สีขนอาจเปลี่ยนแปลงไปได้ตามฤดูกาล เวลาที่ตกใจต่อมใกล้ทวารจะปล่อยสารที่มีกลิ่นเหม็นออกมา
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อาศัยอยู่ในหลายสภาพพื้นที่ทั้งในป่า ทุ่งหญ้า และนาข้าว ในสิกขิมหมาหริ่งจะถูกนำเข้าไปไว้ในบ้านเพื่อก้าจัดแมลงสาบ และแมลงอื่นๆ
การแพร่กระจาย : เนปาล อัสัม พม่า ไทย และเวียดนาม
-
ภูผาเทิบ
การกระจายพันธุ์ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก
-
มุกดาหาร
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Anseropoda rosacea
Macrobrachium hirsutimanus
อึ่งลาย
Glyphoglossus guttulatus
นกแอ่นทุ่งเล็ก
Glareola lactea
นกกระจ้อยวงตาสีทองพันธุ์จีน
Phylloscopus omeiensis
แมลงทับหัวทับทิม
Chrysochroa chinensis
Previous
Next