Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Melodorum siamense
Melodorum siamense
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Melodorum siamense
(Scheff.) Bân
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
นมแมว
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Magnoliales
วงศ์::
Annonaceae
สกุล:
Uvaria
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:37 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก โคนใบมนหรือหยักเว้า ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก 2-4 ดอก ตรงข้ามใบ มีกลิ่นหอมในช่วงเย็น กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว รูปสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง สีเหลืองนวล รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบหนา กลีบวงในมีขนาดเล็กกว่า ผลเป็นผลกลุ่ม มีผลย่อย 6-15 ผล รูปรี สีเหลือง แต่ละผลย่อยมี 5-8 เมล็ด
-
ไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขนสีน้ำตาลปกคลุม ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก โคนใบมนหรือหยักเว้า ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกเดี่ยว หรือออกเป็นกระจุก 2-4 ดอก ตรงข้ามใบ มีกลิ่นหอมในช่วงเย็น กลีบเลี้ยง 3 กลีบ สีเขียว รูปสามเหลี่ยม กลีบดอก 6 กลีบ เรียงเป็นสองวง สีเหลืองนวล รูปไข่แกมสามเหลี่ยม กลีบหนา กลีบวงในมีขนาดเล็กกว่า ผลเป็นผลกลุ่ม มีผลย่อย 6-15 ผล รูปรี สีเหลือง แต่ละผลย่อยมี 5-8 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
ถิ่นกำเนิด เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบเฉพาะในประเทศไทย บริเวณป่าเบญจพรรณ ออกดอก เกือบตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดปานกลางถึงร่มรำไร น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
-
ถิ่นกำเนิด เป็นพืชเฉพาะถิ่น พบเฉพาะในประเทศไทย บริเวณป่าเบญจพรรณ ออกดอก เกือบตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดปานกลางถึงร่มรำไร น้ำปานกลาง ขยายพันธุ์ เพาะเมล็ด ตอนกิ่ง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
สมุนไพร
ที่มาของข้อมูล
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
หวายขี้ไก่
Calamus myrianthus
ฝักทอง
Cucurbita moschata
Oberonia myriantha
Christella subpubescens
Digitaria pulsilla
ส้มลม
Aganonerion polymorphum
Previous
Next