Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Megalaima australis
Megalaima australis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Megalaima australis
(Horsfield, 1821)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Blue-eared Barbet
ชื่อไทย:
-
นกโพระดกหน้าผากดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Piciformes
วงศ์::
Ramphastidae
สกุล:
Megalaima
วันที่อัพเดท :
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
วันที่สร้าง:
19 ธ.ค. 2561 15:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศป่าไม้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย
-
พะเยา
-
กระบี่
-
สุราษฎร์ธานี
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าภูหลวง
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าเทือกเขาแม่นางขาว, ป่าสงวนแห่งชาติป่าเขาสมิง (ป่าคลองใหญ่-ป่าเขาไฟไหม้), ป่าสงวนแห่งชาติป่าควนออกบ้านน้ำตก, ป่าสงวนแห่งชาติป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม , ป่าสงวนแห่งชาติป่าคลองกาโหรดและป่าคลองหิน
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้ากระบี่ ตำบลคลองขนาน อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
มีขนาดประมาณ 17-18 เซนติเมตร หัวและกระหม่อมสีฟ้า หน้าผากดำ แถบตาดำ มีแถบเหลืองที่มุมปากต่อเนื่องด้วยแถบแดง ด้านข้างท้ายทอยมีแถบแดงเล็กๆ คอสีฟ้ามีสีดำเล็กเรียงเป็นแถบบางๆ ชนิดย่อย duvaucelii ทางตอนใต้สุด หน้าสีดำ ไม่มีแถบเหลือง ที่มุมปาก มีสีแดงที่ด้านข้างหัว มุมปาก และข้างคอ อกตอนบนมีแถบดำ
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Saraburi
NSM
Saraburi
NSM
Phatthalung
NSM
Phatthalung
NSM
Ranong
NSM
Loei
NSM
Loei
NSM
Mae hong son
NSM
Nakhon si thammarat
NSM
Chiang mai
NSM
Nakhon si thammarat
NSM
Kanchanaburi
NSM
Tak
NSM
-
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Asperocorvina jubata
ด้วงเต่าใบปาล์ม ด้วงแทะใบปาล์ม
Promecotheca cumingii
นกยางเปีย
Egretta garzetta
Eoophyla ochripicta
Parupeneus macronema
Tarsolepis rufobrunnea
Previous
Next