Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Megachasma pelagios
Megachasma pelagios
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Megachasma pelagios
Taylor, Compagno & Struhsaker, 1983
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Megachasma plagios Taylor, Compagno & Struhsaker, 1983
ชื่อสามัญ::
-
Megamouth Shark
-
Megamouth shark
-
Megamouth shark, big mouth shark
ชื่อไทย::
-
ฉลามปากกว้าง, ฉลามเมกาเมาท์
-
ปลาฉลามปากกว้าง, ปลาฉลามเมกาเมาท์
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Lamniformes
วงศ์::
Megachasmidae
สกุล:
Megachasma
ที่มา :
โสภณา (2545), J. 1. Castro (www.geocities.ws), www.mexfish.com
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณใกล้ผิวน้ำถึงกลางน้ำในมหาสมุทรตามไหล่ทวีปจนถึงระดับความลึกน้ำ 1,000 เมตร โดยมีการอพยพในแนวดิ่ง ซึ่งในเวลากลางวันอาศัยในเขตน้ำลึก และขึ้นมาใกล้ผิวน้ำที่ระดับความลึกน้ำ 10-15 เมตร ในเวลากลางคืน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 576 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 200-450 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 400-549 ชม. และเพศเมีย 500-544 ชม.
- จะงอยปากสั้น กว้างและโค้งมน ปากอยู่ปลายหน้าสุดของส่วนหัว ภายในปากมีซี่กรองขนาดใหญ่ และมีฟันขนาดเล็กจำนวนมากปลายแหลมโค้งคล้ายตะขอ มีจุดสีดำกระจายบริเวณใต้ขากรรไกรล่าง
ลำตัวสีเทาหรือเทาดำ และด้านท้องสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นพวกที่ออกลูกเป็นตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง และตัวอ่อนในท้องแม่อาจมีการกินกันเองเหมือนปลาในอันดับนี้ แต่เป็นปลาที่กินแพลงก์ตอนเหมือนกับปลาฉลามวาฬ
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
มีคุณค่าทางวิชาการ เนื่องจากการมีรายงานการพบทั่วโลกน้อยมาก
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJDB13176
825402
2
PRJNA731549
731549
3
PRJNA720393
720393
4
PRJNA207613
207613
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Scutellastra flexuosa
Cantharus rubiginosus
ปลาหมึกแคระสองแถว
Idiosepius biserialis
แมวป่า,เสือกระต่าย
Felis chaus
Gnathia mortenseni
Tellina staurella
Previous
Next