Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Manta birostris
Manta birostris
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Manta birostris
(Donndorff, 1798)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Giant manta ray, Pacific manta ray, oceanic manta,
ชื่อไทย:
-
กระเบนราหู
-
ปลากระเบนราหูยักษ์, ปลากระเบนแมนต้ายักษ์
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Myliobatidae
สกุล:
Manta
ที่มา :
Li Dizhen, CAPPMA, China, Last et al. (2010a)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
29 ม.ค. 2564 11:49 น.
วันที่สร้าง:
29 ม.ค. 2564 11:49 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณใกล้ผิวน้ำถึงใกล้พื้นท้องทะเลตามแนวปะการังน้ำลึก จนถึงในมหาสมุทรที่ระดับความลึกน้ำมากกว่า 1,000 เมตร (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 100 เมตร)
การกระจายพันธุ์ :
-
Circum-tropical
-
มีการอพยพเป็นระยะทางไกลระหว่างมหาสมุทร ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน ส่วนใหญ่พบในทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 700 ชม. (อาจถึง 910 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 200-500 ซม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 375-400 ซม. เพศเมีย 380-470 ซม. และขนาดแรกเกิด 122-149 ชม.
- ส่วนหัวกว้าง แผ่นหนังที่ปลายจะงอยปากงุ้มเข้าหากัน ตำแหน่งปากอยู่ปลายหน้าสุด มีแถบฟันที่ขากรรไกรล่าง 12-16 แถว หางสั้น มีเงี่ยงที่ลดรูปเหลือเป็นก้อนนูนตอนท้ายครีบหลัง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีดำ มีแถบสีขาวที่ขอบหน้าขนานกับตอนหน้าส่วนหัว ทำให้เห็นแถบสีดำบนส่วนหัวเป็นรูปตัว T ด้านท้องสีขาว ขอบท้ายและใต้ปากมีสีดำ มีรอยด่างสีดำเป็นดวงๆ บริเวณกลางแผ่นลำตัว
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1 ตัว (ทุก 2-3 ปี) อาจพบอยู่เดี่ยวๆ เป็นคู่ หรือรวมฝูง ปลาขนาดเล็กอาจเข้ามาอาศัยตามชายฝั่งทะเลถึงปากแม่น้ำ ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก และแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้ ซี่กรองเหงือกและกระดูกสันหลังใช้เป็นส่วนผสมยาจีน และประโยชน์ต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์โดยการดำน้ำ ส่วนปลาที่มีชีวิตสามารถนำมาเลี้ยงในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่ได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Amphiesma khasiense
Atergatis dilatatus
หอยเบี้ยฟันดำ
Ficadusta pulchella
Pennaria disticha
Codakia divergens
Heteropneustes khemarattensis
Previous
Next