Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Manta alfredi
Manta alfredi
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Manta alfredi
(Krefft, 1868)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Reef manta ray, Alfred manta, coastal manta ray, r
ชื่อไทย::
-
กระเบนราหู
-
ปลากระเบนราหูแนวปะการัง ปลากระเบนแมนต้า
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rajiformes
วงศ์::
Mobulidae
สกุล:
Mobula
ที่มา :
Li Dizhen, CAPPMA, China
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
ที่มา :
Li Dizhen, CAPPMA, China
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 550 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 200-500 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 300 ชม. เพศเมีย 390 ชม. และขนาดแรกเกิด 130-192 ชม.
- ส่วนหัวกว้าง แผ่นหนังที่ปลายจะงอยปากงุ้มเข้าหากัน ตำแหน่งปากอยู่ปลายหน้าสุด มีแถบฟันที่ขากรรไกรล่าง 6-8 แถว หางสั้น ยาวประมาณ 1.2 เท่าของความยาวแผ่นลำตัว ไม่มีเงี่ยง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีดำ มีแถบสีขาวเป็นแนวเฉียงจากตอนท้ายส่วนหัวเข้ากลางแผ่นลำตัว ทำให้เห็นแถบสีดำบนส่วนหัวเป็นรูปตัว Y ด้านท้องสีขาว ตอนปลายด้านล่างมีสีดำจางๆ และมีรอยด่างสีดำเป็นดวง ๆ กระจายทั่วไป
- เป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-2 ตัว (ทุก 2-3 ปี) ใช้เวลาตั้งท้อง 12-13 เดือน ชอบอาศัยอยู่รวมฝูงขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก และแพลงก์ตอนสัตว์เป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณใกล้ผิวน้ำถึงใกล้พื้นท้องทะเลตามแนวปะการัง จนถึงในมหาสมุทรที่ระดับความลึกน้ำ 432 เมตร์ (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 100 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
มีการอพยพเป็นระยะทางไกลระหว่างมหาสมุทร ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน แต่ส่วนใหญ่มีการแพร่กระจายทางฝั่งอ่าวไทย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคได้ ซี่กรองเหงือกและกระดูกสันหลังใช้เป็นส่วนผสมยาจีน และประโยชน์ต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์โดยการดำน้ำ ส่วนปลาที่มีชีวิตสามารถนำมาเลี้ยงและเพาะพันธุ์ในสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำขนาดใหญ่ได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, )
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
แค้ติดหิน,โกงกาง
Glyptothorax platypogonides
ปาดจิ๋วลายแต้ม
Chiromantis nongkhorensis
Nematalosa japonica
Virachola perse
Cirripectes filamentosus
Phymodius granulosus
Previous
Next