Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Mansonia gagei
Mansonia gagei
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Torenia thailandica
T.Yamaz.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
จันทน์ชะมด
-
จันทน์หอม
ชื่อท้องถิ่น::
-
จันทน์ จันทน์ชะมด (ประจวบคีรีขันธ์), จันทน์ขาว จันทน์พม่า จันทน์หอม (ภาคกลาง)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Linderniaceae
สกุล:
Mansonia
วันที่อัพเดท :
29 ม.ค. 2564 14:08 น.
วันที่สร้าง:
29 ม.ค. 2564 14:08 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก
-
- ต้นจันทน์หอม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่นห่างๆ
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง และตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ผล : เป็นรูปกระสวย มีปีกรูปทรงสามเหลี่ยม
-
- ต้นจันทน์หอม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่นห่างๆ
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง และตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ผล : เป็นรูปกระสวย มีปีกรูปทรงสามเหลี่ยม
-
- ต้นจันทน์หอม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่นห่างๆ
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง และตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ผล : เป็นรูปกระสวย มีปีกรูปทรงสามเหลี่ยม
-
- ต้นจันทน์หอม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่นห่างๆ
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง และตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ผล : เป็นรูปกระสวย มีปีกรูปทรงสามเหลี่ยม
-
- ต้นจันทน์หอม : เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 10–20 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มค่อนข้างโปร่ง
- ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับ แผ่นใบรูปรีแกมขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลม โคนใบเว้าเบี้ยวเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่นห่างๆ
- ดอก : ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง และตามง่ามใบ ดอกขนาดเล็ก สีขาว ออกดอกช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม
- ผล : เป็นรูปกระสวย มีปีกรูปทรงสามเหลี่ยม
การกระจายพันธุ์ :
-
SE & SW Thailand
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Endemic
-
เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์
-
ประจวบคีรีขันธ์
-
จันทบุรี
-
สุราษฎร์ธานี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Dry evergreen forest, limestone, 50 − 500 m.
-
อุทยานแห่งชาติ แก่งกระจาน
-
อุทยานแห่งชาติ เขาสามร้อยยอด
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาสอยดาว
-
ป่าย่านยาว ป่าเขาวง และป่ากระซุม สุราษฎร์ธานี
การขยายพันธุ์ :
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
-
1. การเพาะเมล็ด
2. การเพาะกล้า
ข้อมูลภูมิปัญญา
-
ความเป็นมาดอกไม้จันทน์ ดอกไม้สำหรับคนตายที่ไม่มีวันตาย :: ตามคติความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับไม้จันทน์ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการแสดงความเคารพและไว้อาลัยให้คนตายเป็นครั้งสุดท้ายภายในงานฌาปนกิจศพ เพราะเชื่อว่าผู้ตายจะได้ไปสู่สุขคติและเมื่ออาชีพเสริมสร้างรายได้ที่ดีให้ชาวบ้าน เพราะไม่ว่าเศรษฐกิจจะดีหรือไม่ ก็ไม่มีผลกระทบ เพราะสามารถขายได้ตลอด ที่สำคัญยังเป็นสินค้าที่ไม่มีวันเสีย ไม่บูด ไม่เน่า สามารถเก็บรักษาเพื่อรอจำหน่ายได้ตลอดทั้งปี จะเห็นได้ว่าในระยะหลังมานี้มีการตั้งกลุ่มแม่บ้าน หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตามจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อผลิตดอกไม้จันทน์ออกขาย ทำให้หน้าตาของดอกไม้จันทน์ในปัจจุบันถูกพัฒนาไปมาก จากเดิมเรามักเห็นดอกไม้จันทน์มีสีขาว บ้า
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมป่าไม้
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Amphiroa rigida
หิ่งหลวง
Crotalaria neriifolia
Cryptolepis buchananii
Vossia cuspidata
จิงจ้อดอย
Merremia kingii
Sacciolepis fenestrata
Previous
Next