Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Maculabatis astra
Maculabatis astra
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Maculabatis astra
(Last, Manjaji-Matsumoto & Pogonoski, 2008)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Himantura astra Last, Manjaji-Matsumoto & Pogonoski, 2008
ชื่อสามัญ::
-
Blackspotted Whipray
-
Blackspotted whipray, coach whipray, Tosh's whipra
ชื่อไทย:
-
กระเบนจุดดำ
-
ปลากระเบนจุดดำ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Maculabatis
ที่มา :
มนตรี สุมณฑา และวัชชิระ โซ่โดบ
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 86 ชม. (TL 180 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 50-80 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้และเพศเมีย 50-56 ชม. และขนาดแรกเกิด 17-22 ชม.
- แผ่นลำตัวรูปห้าเหลี่ยม ปลายจะงอยปากแหลม แผ่นลำตัวมีความกว้างมากกว่าความยาว หางยาว 2.1-2.7 เท่าของความกว้างแผ่นลำตัว มีเงี่ยง 1-3 น ไม่มีแผ่นหนังที่หาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาล มีจุดสีดำขนาดเล็กกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางตา (บางจุดมีขอบสีขาว) กระจายทั่ว ส่วนหางหลังเงี่ยงมีแถบสีน้ำตาลเข้มสลับกับสีน้ำตาลอ่อน และด้านท้องมีสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีวิวิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-3 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนตามป่าชายเลน ชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 141 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภค และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ecsenius bicolor
ชันโรง
Trigona binghami
Hypseloecus schuhianus
มดหลอดหม่น
Platythyrea parallela
Gauna mediolineata
Atergatis dilatatus
Previous
Next