Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Luisia thailandica
Luisia thailandica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Luisia thailandica
Seidenf.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
เอื้องลิ้นดำใหญ่
-
งูเขียวปากม่วง
ชื่อท้องถิ่น::
-
งูเขียวปากม่วง
-
งูเขียวปากม่วง (เลย) เอื้องลิ้นดำใหญ่ (เชียงใหม่)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Luisia
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:19 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:19 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย หรือขึ้นบนหิน ลำต้นกลม ใบ รูปทรงกระบอก ช่อดอกแบบช่อกระจะขนาดสั้นมาก มี 3-5 ดอก ขนาดบาน 2 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวแกมเหลือง กลีบปาก แผ่กว้างรูปไข่ สีม่วงดำ
-
บรรยายลักษณะต้น:ลำต้นตั้งตรง สูง 15-30 เซนติเมตรใบ:ใบรูปทรงกระบอก สีเขียวคล้ำ ยาวถึง 15 เซนติเมตร ปลายใบมนดอก:ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะสั้นมาก ออกที่ข้างลำต้นหรือที่ซอกใบ บานคราวละ 2-3 ดอก กลีบดอกสีเขียว มี 5 กลีบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ อาจมีจุดสีม่วงที่ด้านหลังกลีบ ปลายกลีบมน กลีบปากสีม่วงคล้ำ รูปรีแกมรูปไข่ อวบและหนา โคนกลีบมีติ่งเล็กๆ ผิวด้านบนขรุขระและเป็นร่อง กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน กลีบเลี้ยงคู่ข้างเป็นอุ้งผล:เปลือก:อื่นๆ:
ลำต้นตั้งตรง สูง 15-30 เซนติเมตร
ใบรูปทรงกระบอก สีเขียวคล้ำ ยาวถึง 15 เซนติเมตร ปลายใบมน
ดอกออกเป็นช่อแบบกระจะสั้นมาก ออกที่ข้างลำต้นหรือที่ซอกใบ บานคราวละ 2-3 ดอก กลีบดอกสีเขียว มี 5 กลีบ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ อาจมีจุดสีม่วงที่ด้านหลังกลีบ ปลายกลีบมน กลีบปากสีม่วงคล้ำ รูปรีแกมรูปไข่ อวบและหนา โคนกลีบมีติ่งเล็กๆ ผิวด้านบนขรุขระและเป็นร่อง กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน กลีบเลี้ยงคู่ข้างเป็นอุ้ง
-
กล้วยไม้อิงอาศัย หรือขึ้นบนหิน ลำต้นกลม ใบ รูปทรงกระบอก ช่อดอกแบบช่อกระจะขนาดสั้นมาก มี 3-5 ดอก ขนาดบาน 2 ซม. มีกลิ่นหอม กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวแกมเหลือง กลีบปาก แผ่กว้างรูปไข่ สีม่วงดำ
ระบบนิเวศ :
-
Dry deciduous dipterocarp forest, dry evergreen forest, mixed deciduous forest, hill evergreen forest, 700-1,300 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Myanmar, Vietnam.
-
พบตามป่าดิบเขาและลานหิน ในภาคเหนือและภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ออกดอกเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
พบในป่าดิบเขาและลานหิน ออกดอกเดือนมีนาคม-พฤษภาคม ในไทยพบที่ แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก แพร่ เลย ชัยภูมิ ต่างประเทศพบที่พม่า
-
พบตามป่าดิบเขาและลานหิน ในภาคเหนือและภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือ ออกดอกเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,Tak,Loei,Chaiyaphum
-
เชียงใหม่, ดอยสุเทพ, เชียงดาว, ดอยสะเก็ด, แม่ฮ่องสอน, แม่สะเรียง, ปาย, ตาก, เลย, ภูกระดึง, ชัยภูมิ, ภูเขียว
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่คำมี ป่าสงวนแห่งชาติป่าภูสีฐาน(ป่าภูผาซาน) ป่าสงวนแห่งชาติป่าน้ำเปื๋อย ป่าน้ำหย่วน และป่าน้ำลาว
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
ไม้ดอกไม้ประดับ
บัญชีแนบท้ายประกาศอนุสัญญา Cites
CITES โลก
- บัญชีหมายเลข II (ประกาศใช้เมื่อ 2023-02-23)
CITES ไทย
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Peranema nodosa
Caulerpa chemnitzia
หอมไก่เหลือง
Chloranthus nervosus
Asparagus acerosus
Allium sativum
Iguanura geonomiformis
Previous
Next