Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Lemna perpusilla
Lemna perpusilla
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Lemna perpusilla
Torr.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hydrophace perpusilla (Torr.) Lunell
ชื่อไทย:
-
แหนเป็ดเล็ก
-
แหน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Alismatales
วงศ์::
Araceae
สกุล:
Lemna
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
พืชลอยน้ำ มักพบเป็นแพ ลักษณะเป็นแผ่นใบเล็กๆ ลอยที่ผิวน้ำ มีรากเห็นเป็นเส้นดิ่งไม่แตกแขนง 1 เส้น ใบ อาจอยู่เดี่ยวๆ หรือเชื่อมกันเป็นกระจุก 2-5 ใบ สีเขียวอ่อนถึงสีม่วง แกมแดง รูปใบไม่สมมาตร รูปไข่กลับ หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 0.7-2.8 ซม. ยาว 1.2-4.8 มม. เส้นใบ 3 เส้น ดอก ขนาดเล็กมาก ออกเป็นช่อในถุงที่ขอบใบ ประกอบด้วยดอกเพศผู้ 2 ดอก และดอกเพศเมีย 1 ดอก ผล ขนาดเล็ก รูปค่อนข้างรี
-
พืชลอยน้ำ มักพบเป็นแพ ลักษณะเป็นแผ่นใบเล็กๆ ลอยที่ผิวน้ำ มีรากเห็นเป็นเส้นดิ่งไม่แตกแขนง 1 เส้น ใบ อาจอยู่เดี่ยวๆ หรือเชื่อมกันเป็นกระจุก 2-5 ใบ สีเขียวอ่อนถึงสีม่วง แกมแดง รูปใบไม่สมมาตร รูปไข่กลับ หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 0.7-2.8 ซม. ยาว 1.2-4.8 มม. เส้นใบ 3 เส้น ดอก ขนาดเล็กมาก ออกเป็นช่อในถุงที่ขอบใบ ประกอบด้วยดอกเพศผู้ 2 ดอก และดอกเพศเมีย 1 ดอก ผล ขนาดเล็ก รูปค่อนข้างรี
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในประเทศเขตร้อนและเขตศูนย์สูตรของทวีปเอเชีย พบทั่วไปตามแหล่งน้ำจืด ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 2,100 เมตร
-
พบในประเทศเขตร้อนและเขตศูนย์สูตรของทวีปเอเชีย พบทั่วไปตามแหล่งน้ำจืด ตั้งแต่ระดับใกล้น้ำทะเลจนถึง 2,100 เมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เชียงดาว
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อมก๋อย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เลียงฝ้าย
Berrya mollis
Austrobuxus nitidus
Pellaea timorensis
รองเท้านารีอินทนนท์ลาว
Paphiopedilum gratrixianum
Cleidiocarpon laurinum
Echinochloa polystachya
Previous
Next