Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Kibatalia arborea(Bl.)G.Don
Kibatalia arborea(Bl.)G.Don
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Kibatalia arborea
G.Don.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hasseltia arborea Blume
- Kixia arborea (Blume) Steud.
- Tabernaemontana ovalis Miq.
ชื่อไทย::
-
พุงดง
ชื่อท้องถิ่น::
-
มะดีควาย ขนุนป่าน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Kibatalia
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 3-6 ซม. ยาว 8-16 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบมัน แผ่นใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกสีขาว ตรงกลางมีสีแดง ออกเป็นช่อมี 2-5 ดอก กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็นหลอดยาว 3-5 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แต่ละแฉกรูปหอกแกมขอบขนานเรียงเวียนกันคล้ายกังหัน เกสรผู้สั้นอยู่ภายในหลอดดอก ผลเป็นผลสดรูปไข่ สีดำเข้ม ผิวมัน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
-
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 ม. ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรีแกมรูปไข่ กว้าง 3-6 ซม. ยาว 8-16 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบมัน แผ่นใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกสีขาว ตรงกลางมีสีแดง ออกเป็นช่อมี 2-5 ดอก กลีบดอกโคนเชื่อมกันเป็นหลอดยาว 3-5 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก แต่ละแฉกรูปหอกแกมขอบขนานเรียงเวียนกันคล้ายกังหัน เกสรผู้สั้นอยู่ภายในหลอดดอก ผลเป็นผลสดรูปไข่ สีดำเข้ม ผิวมัน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2.5-4 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในจีนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ม. ดอกบานและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
-
พบในจีนและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จนถึงอินโดนีเซีย ตามป่าดงดิบ ที่ระดับความสูงประมาณ 1,000 ม. ดอกบานและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Acroceras munroanum
Arisaema prazeri
Cylindrolobus pilifer
Piper sulcatum
Dialium maingayi
Walsura robusta
Previous
Next