Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Kandelia candel
Kandelia candel
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Kandelia candel
(L.) Druce
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Bruguiera candel (L.) Steud.
- Kandelia rheedei Wight & Arn.
- Rhizophora candel L.
ชื่อไทย:
-
รังกะแท้
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Rhizophoraceae
สกุล:
Kandelia
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 18:59 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุมน้ำปากแม่น้ำกระบี่
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้นขนาดเล็ก (Small tree)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นขนาดเล็กคล้ายไม้พุ่ม สูง 2-7 ม. เรือนยอดโปร่ง โคนต้นอวบหนา รูปทรงกรวยคว่ำ ไม่มีพูพอนและรากหายใจ รากค้ำยันสั้น นุ่ม เปลือกเรียบสีเทาถึงสีน้ำตาลอมแดง มีช่องอากาศกระจายทั่วไป
ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ออกเป็นกระจุกตามปลายกิ่ง แผ่นใบรูปรี รูปขอบขนานแกมรูปรีถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ขนาด 3-5x7-16 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ ปลายใบมนถึงเว้าบุ๋มเล็กน้อย เส้นใบแบบร่างแหขนนก มองเห็นไม่ชัดเจน เส้นกลางใบยุบตัวถึงราบ เส้นแขนง 7-10 คู่มองเห็นลางๆ ผิวใบเกลี้ยงทั้งสองด้าน ผิวใบด้านบนสีเขียวเป็นมัน ด้านล่างสีซีดกว่า เนื้อใบหนา ถึงอวบน้ำ ก้านใบยาว 1.5-3 ซม. ด้านบนเป็นร่องตื้น หูใบรูปแถบ ประกบกันเป็นคู่ที่ปลายกิ่งและมักบิดเป็นเกลียว ยาว 2-3 ซม.
ดอก แบบช่อกระจุกสองด้านหลายชั้นแตกเป็นง่าม ออกตามง่ามใบ ช่อดอกแตกระบบ 2 กิ่งแต่ละช่อมี 4-12 ดอก มีก้านดอกยาว 2-5 ซม. ก้านดอกย่อยยาว 0.2-0.4 ซม. ดอกตูมรูปทรงกระบอกยาว 1.5-2 ซม. ใบประดับย่อยหนาคล้ายแผ่นหนัง 2-4 ใบ เชื่อมติดกัน เป็นรูปถ้วยรองรับที่ฐานดอก กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วยยาว 0.2 ซม. ปลายแยกเป็น 5(6) แฉก รูปแถบ ปลายแหลม ยาว 1.5 ซม. โค้งลงแล้วปลายกระดกขึ้น กลีบดอก 5(6) กลีบ รูปแถบ ขอบเกลี้ยง ปลายแยก 2 แฉก สีขาว เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก (30-40 อัน) แยกกันเป็นอิสระ ยาว 0.8-1.5 ซม. เรียงล้อมรอบเกสรเพศเมียคล้ายปลายพู่กัน เกสรเพศเมียสั้นกว่าเกสรเพศผู้ ยอดเกสรแยกเป็นแฉกสั้นๆ 3 แฉก รังไข่อยู่ใต้วงกลีบ มี 1 ช่อง ภายในมีไข่อ่อน 6 เมล็ด ออกดอกระหว่างเดือน สิงหาคม–พฤศจิกายน
ผล แบบผลมีเนื้อเมล็ดเดียว รูปทรงไข่กลับปลายคอด ยาว 2-3 ซม. สีเขียว ปกคลุมด้วยเกล็ด สีน้ำตาล กลีบเลี้ยงแข็งโค้งกลับเข้าหาขั้วผล เมล็ดงอกตั้งแต่อยู่บนต้น ลำต้นใต้ใบเลี้ยงหรือ “ฝัก” เรียวยาวค่อนข้างตรง คล้ายทรงกระบอก ยาว 15-40 ซม.ส่วนปลายของโคนฝักเรียวแหลม ผิวเรียบเป็นมัน สีเขียวอ่อน สีคล้ำเมื่อแก่ ผลแก่ระหว่างเดือน มีนาคม-พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
ประเทศอินเดีย พม่า หมู่เกาะอันดามัน ไทย ตะวันตกของมาเลเซีย ตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา ตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว กัมพูชา เวียดนาม เกาะไหหลำ ฮ่งง ไต้หวัน และตอนใต้ของหมู่เกาะริวกิว
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
49129
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49130
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49131
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49132
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49133
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49134
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
49135
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
102545
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
103128
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
103129
หอพรรณไม้
BANGKOK
Dry
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1130706
1130706
2
PRJNA1064615
1064615
3
PRJNA996495
996495
4
PRJNA927477
927477
5
PRJNA822486
822486
6
PRJNA817364
817364
7
PRJNA680663
680663
8
PRJNA635245
635245
9
PRJNA542091
542091
10
PRJNA513904
513904
11
PRJNA243325
243325
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
พันธุ์ไม้ป่าชายเลน, กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2563
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Teyleria stricta
Kaisupeea cyanea
Grona heterocarpa
โสม
Panax ginseng
Teinostachyum helferi
Diospyros discolor
Previous
Next