Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Jasminum bhumibolianum
Jasminum bhumibolianum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Jasminum bhumibolianum
Chalermglin
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
มะลิเฉลิมนรินทร์
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Lamiales
วงศ์::
Oleaceae
สกุล:
Jasminum
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
วันที่สร้าง:
11 ต.ค. 2561 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย เถายาว 1-2 เมตร ใบรูปรีหรือรูปหอกกว้าง ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง หรือปลายกิ่งข้าง มีดอกย่อย 7-13 ดอก กลีบดอกสีขาว 6-8 กลีบ เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดเลย
-
ไม้เลื้อย กิ่งก้านมีขนสั้นปกคลุม ใบ เดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูปรีกว้างประมาณ 2.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 5.5 เซนติเมตร ปลายเรียวแหลมโคนมนหรือแหลม ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวอ่อน ดอก แบบ ช่อกระจุกเชิงประกอบ ออกที่ปลายยอดและซอกใบใกล้ปลายยอด ช่อย่อยเป็นช่อกระจุกมีดอกข้างสองดอก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตรกลิ่นหอมอ่อน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เป็นสันรูปสามเหลี่ยมกลับ สีเขียว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5-6 กลีบ รูปใบหอก ปลายแหลม สีขาวนวล บางกลีบตั้งขึ้น บางกลีบม้วนกลับ เกสรเพศผู้ 2 เกสร ติดบนหลอด กลีบดอก ก้านซูอับเรณูสีขาว อับเรณูสีเหลืองนวล รังไข่เหนือวงกลีบ สีขาวยอดเกสรเพศเมียรูปซ้อน ผล แบบผลผนังชั้นในแข็ง ทรงกลมแกมทรงรีผิวเรียบเป็นมัน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร สุกสีดำมะลิชนิดใหม่ของโลก สำรวจพบเมื่อปี พ.ศ. 2552 โดย ดร.ปิยะ เฉลิมกลิ่น ร่วมกับ "รัธ คิว" Ms. Ruth Kiew ผู้เชี่ยวชาญเรื่องมะลิ ซึ่งปฏิบัติงานอยู่ในหอพรรณไม้ของสถาบันวิจัยป่าไม้มาเลเซีย (Forest Research Institute of Malaysia: FRIM) และได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ให้ใช้ชื่อว่า "มะลิเฉลิมนรินทร์" โดยมีความหมายว่า "มะลิเฉลิมพระเกียรติพระเจ้าแผ่นดิน"เมื่อวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2555 เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เลื้อย เถายาว ๑-๒ เมตร กิ่งยอดเรียวเล็ก เรียบ ใบรูปรีหรือรูปหอกกว้าง ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง หรือปลายกิ่งข้าง มีดอกย่อย ๗-๑๓ ดอก กลีบดอกสีขาว ๖-๘ กลีบ ปลายกลีบเป็นติ่งแหลม
-
ออกดอกเป็นระยะตลอดทั้งปี ออกมากเดือนกรกฎาคม - กันยายน
ถิ่นกำเนิด :
-
เลย
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชถิ่นเดียวของประเทศไทย
การขยายพันธุ์ :
-
ตัดกิ่งปักชำ เพาะเมล็ด
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1058522
1058522
2
PRJNA1057426
1057426
3
PRJNA1056537
1056537
4
PRJNA1054816
1054816
5
PRJNA1028142
1028142
6
PRJNA1028001
1028001
7
PRJNA1019497
1019497
8
PRJNA950322
950322
9
PRJNA926219
926219
10
PRJNA837081
837081
11
PRJNA820313
820313
12
PRJNA795621
795621
13
PRJEB49212
787873
14
PRJNA723751
723751
15
PRJNA723725
723725
16
PRJNA722090
722090
17
PRJNA690159
690159
18
PRJNA689688
689688
19
PRJNA646197
646197
20
PRJNA636634
636634
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
มะแฮะ
Cajanus cajan
Peperomia laevifolia
Nymphaea
Dendrocalamus longispathus
Ficus hispida
Clematis smilacifolia
Previous
Next