Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Inula cappa
Inula cappa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Inula cappa
(Buch.-Ham. ex D.Don) DC.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
หนาดคำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
เขืองแพงม้า หนาดดอย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Asterales
วงศ์::
Asteraceae
สกุล:
Duhaldea
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งสูงถึง 1.5 เมตร ส่วนโคนเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมตามส่วนอ่อนทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปร่างยาวขอบขนาน โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ผิวใบด้านล่างมีขนยาวสีเทาเงิน ดอก เป็นช่อ เป็นกระจุกที่ปลายยอดและซอกใบ มีก้านช่อดอกมาก ดอกย่อยไม่มีก้านหรือก้านสั้น กลีบดอกสีเหลือง เมล็ดแคบยาว มีขนปกคลุมทั่วไป และมีขนสีขาวประดับที่ส่วนปลาย
-
ไม้พุ่ม ลำต้นตั้งสูงถึง 1.5 เมตร ส่วนโคนเนื้อค่อนข้างแข็ง มีขนสีน้ำตาลอมเหลืองปกคลุมตามส่วนอ่อนทั่วไป ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับกัน รูปร่างยาวขอบขนาน โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ผิวใบด้านล่างมีขนยาวสีเทาเงิน ดอก เป็นช่อ เป็นกระจุกที่ปลายยอดและซอกใบ มีก้านช่อดอกมาก ดอกย่อยไม่มีก้านหรือก้านสั้น กลีบดอกสีเหลือง เมล็ดแคบยาว มีขนปกคลุมทั่วไป และมีขนสีขาวประดับที่ส่วนปลาย
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในที่สูง 800-1,600 เมตร ตามที่เปิด ทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด กระจายพันธุ์ในภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกระหว่างเดือน ตุลาคม-กุมภาพันธ์
-
พบในที่สูง 800-1,600 เมตร ตามที่เปิด ทุ่งหญ้าและป่าโปร่ง ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด กระจายพันธุ์ในภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ออกดอกระหว่างเดือน ตุลาคม-กุมภาพันธ์
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Ophiopogon brevipes
Alternanthera repens
Chaetomitrium papillifolium
Dendrobium cowenii
Dichanthium sericeum
Lepisorus normalis
Previous
Next