Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Indochinamon lipkei
Indochinamon lipkei
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Indochinamon lipkei
(Ng & Naiyanetr, 1993)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Potamon lipkei Ng & Naiyanetr, 1993
ชื่อสามัญ::
-
Brachyura
-
Holthuis’s mountain crab
-
Stream Crab
ชื่อไทย::
-
ปูหิน
-
ปูน้ำตก
-
ปูผาโฮลธอยส์
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Arthropoda
ชั้น::
Malacostraca
อันดับ:
Decapoda
วงศ์::
Potamidae
สกุล:
Indochinamon
ปีที่ตีพิมพ์:
2563
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
วันที่อัพเดท :
11 มี.ค. 2564 09:20 น.
วันที่สร้าง:
11 มี.ค. 2564 09:20 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Freshwater. Rivers and streams.
การกระจายพันธุ์ :
-
Chiang Rai, Nan
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
รูปร่างขนาดใหญ่อยู่ในกลุ่มปูน้ำตก เพศผู้มีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย เพศผู้มีขนาดความกว้างของกระดองระหว่าง 31-87 มิลลิเมตร ฝาปิดส่วนท้องส่วนที่กว้างที่สุดประมาณ 14-16 มิลลิเมตร ก้ามใหญ่มีขนาดประมาณ 17-24 มิลลิเมตร และก้ามเล็กจะมีขนาดประมาณ 10-18 มิลลิเมตร และเพศเมียมีขนาดความกว้างของกระดองระหว่าง 42-53 มิลลิเมตร ฝาปิดช่องท้องกว้างประมาณ 15-25 มิลลิเมตร ก้ามใหญ่มีขนาดประมาณ 10-16 มิลลิเมตร และก้ามเล็กจะมีขนาดประมาณ 8-12 มิลลิเมตร ลักษณะเด่น คือ มี 3 สี สีน้ำตาลเข้ม สีม่วง และสีส้ม โดยกระดองจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม ขาเดิน 4 คู่ และขาก้ามทั้งสองข้างเป็นสีน้ำตาลเข้ม และปลายก้ามหนีบทั้งสองข้างเป็นสีส้ม
-
ลักษณะกระดองกว้างมากกว่ายาว มีรอยคอดระหว่างขอบข้างกระดองส่วนหน้าและส่วนหลัง กระดองสีน้ำตาล มีขนาดความกว้างกระดองประมาณ 6 เซนติเมตร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว
-
ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงราย
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
อาหาร, อื่นๆ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
กรมป่าไม้
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานความหลากหลายทางชีวภาพด้านป่าไม้
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lutjanus erythropterus
Favites magnistellata
ด้วงดอกไม้หัวช้อนปากคีบ
Trigonophorus foveiceps
แมลงใบไม้เล็กระยอง
Phyllium rayongii
Scolopsis personatus
Valenciennea strigata
Previous
Next