Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Indochinamon bhumibol
Indochinamon bhumibol
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Indochinamon bhumibol
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Potamon bhumibol Naiyanetr, 2001
ชื่อสามัญ::
-
Brachyura
-
Giant mountain crab
ชื่อไทย:
-
ปูเจ้าพ่อหลวง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Arthropoda
ชั้น::
Malacostraca
อันดับ:
Decapoda
วงศ์::
Potamidae
สกุล:
Indochinamon
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
1 มี.ค. 2567
ที่มา :
กรมประมง
ปรับปรุงล่าสุด :
21 พ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
7 ต.ค. 2562
วันที่อัพเดท :
4 ต.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
4 ต.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ปูเจ้าพ่อหลวง เป็นปูน้ำจืดขนาดใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย มี ๓ สี คือ สีน้ำตาลเข้ม สีม่วง และสีส้ม โดยกระดองจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม ความกว้างของกระดอง ๓๑-๘๗ มิลลิเมตร พบที่ภูกระดึง อำเภอภูกระดึง ภูเรือ อำเภอภูเรือ ลําห้วยบ้านนาหว้า อำาเภอด่านซ้าย ลำห้วย แพแสงภา อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย
-
ปูเจ้าพ่อหลวง เป็นปูน้ำจืดขนาดใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย มี ๓ สี คือ สีน้ำตาลเข้ม สีม่วง และสีส้ม โดยกระดองจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม ความกว้างของกระดอง ๓๑-๘๗ มิลลิเมตร พบที่ภูกระดึง อำเภอภูกระดึง ภูเรือ อำเภอภูเรือ ลําห้วยบ้านนาหว้า อำาเภอด่านซ้าย ลำห้วย แพแสงภา อำเภอนาแห้ว จังหวัดเลย
-
ลักษณะเด่นเป็นปูน้ำจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลักษระกระดองมีความกว้างมากกว่าความยาว ฟันขอบกระดองด้านข้างส่วนหน้ายื่นต่ำแต่ยังเห็นได้ชัด มีขนาดความกว้างกระดองประมาณ 8 เซนติเมตร
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรการกรตัวอย่างต้นแบบมาจากจังหวัดเลย และพบการกระจายพันธุ์ เพิ่มเติมในจังหวัดพะเยา หนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น และ เพชรบูรณ์ ลักษณะเด่นเป็นปูน้ําจืดที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ลักษณะกระดองมีความกว้างมากกว่าความยาวฟันขอบกระดองด้านข้างส่วนหน้ายื่นต่ําแต่ยังเห็นได้ชัดมีขนาดความกว้างกระดองประมาณ 8 เซนติเมตร
ระบบนิเวศ :
-
Freshwater. Mountain stream of a waterfall
การกระจายพันธุ์ :
-
Phayao, Khon Kaen, Nongkhai, Loei, Phetchabun, Udon Thani
-
จังหวัดเลย พะเยา หนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น และเพชรบูรณ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย,พะเยา,หนองคาย,อุดรธานี,ขอนแก่น,เพชรบูรณ์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (IUCN, 2008)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
กรมประมง
สัตว์น้ำเกียรติประวัติไทย, กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2566
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หนังสือพรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ด้วงคีมนีโอสองสี
Neolucanus latus
Odontocraspis collieri
ผีเสื้อ
Callamesia midamia
Hypena obesalis
Hydatina albocincta
นกหัวโตหลังจุดสีทอง
Pluvialis fulva
Previous
Next