Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Impatiens violaeflora
Impatiens violaeflora
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Homonoia riparia
Lour.
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Impatiens aureliana Hook.fil.
- Impatiens inops Hook.fil.
ชื่อสามัญ::
-
Thian doi
ชื่อไทย:
-
เทียนดอย
ชื่อท้องถิ่น::
-
เทียนป่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Impatiens
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุกลำต้นอวบน้ำ สูง 20-40 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยวรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-7 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ดอกสีชมพูแกมแดง ออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ กลีบรองดอก 5 กลีบ มี 1 กลีบ ลักษณะยาวเป็นจงอย กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ผลสีเขียว ก้านยาว 4-6 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดขนาดเล็กดีดไปได้ไกล
-
ไม้ล้มลุก
-
ไม้ล้มลุกลำต้นอวบน้ำ สูง 20-40 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยวรูปขอบขนานแกมรี กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 3-7 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบหยักเป็นฟันเลื่อย ดอกสีชมพูแกมแดง ออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ กลีบรองดอก 5 กลีบ มี 1 กลีบ ลักษณะยาวเป็นจงอย กลีบดอก 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ผลสีเขียว ก้านยาว 4-6 ซม. ผลแก่แตกตามยาว เมล็ดขนาดเล็กดีดไปได้ไกล
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบตามป่าดิบบริเวณน้ำและที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 700-1,500 ม.
-
จากอินเดียถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศไทยพบตามป่าดิบบริเวณน้ำและที่ชุ่มชื้น ที่ระดับความสูง 700-1,500 ม.
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2002-0729
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-0730
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-0731
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-0729
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-0730
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2002-0731
NSM
Ratchaburi
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dysoxylum cochinchinense
Cynanchum corymbosum
รักบ้าน
Gluta renghas
Anisoptera costata
Staurogyne setigera
Licuala pusilla
Previous
Next