Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hystrix brachyura
Hystrix brachyura
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hystrix brachyura
Linnaeus, 1758
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Acanthion brachyurus (Linnaeus, 1758)
- Hystrix hodgsoni
ชื่อสามัญ::
-
malayan porcupine
-
Malayan Porcupine
-
Malayan porcupine
ชื่อไทย:
-
เม่นใหญ่แผงคอยาว
-
เม่นใหญ่
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Mammalia
อันดับ:
Rodentia
วงศ์::
Hystricidae
สกุล:
Hystrix
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
2 ก.ค. 2562 10:42 น.
วันที่สร้าง:
2 ก.ค. 2562 10:42 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นสัตว์ในอันดับสัตว์ฟันแทะ กลุ่มเดียวกับหนู กระรอก เป็นสัตว์ฟันแทะที่มีขนาดร่างกายใหญ่ หนาและเตี้ย รูปร่างของหัวส่วนหน้าและจมูกค่อนข้างยาว ขนที่ส่วนใบหน้า ใต้คอและใต้ท้องเป็นขนอ่อนหยาบสีน้ำตาล ขนด้านข้างลำคอ สันคอไปจนถึงตอนบนของหลังเป็นขนหยาบยาวสีดำเข้มเกือบดำ ขนหนามแข็งขนาดใหญ่ที่ใช้ป้องกันตัว ซึ่งจะขึ้นห่างๆ กัน ตั้งแต่กลางหลังไปถึงปลายหาง ยาวตั้งแต่ 5 30 เซนติเมตร เป็นขนยาวมีสีขาวและมีวงรอบขนสีดำอยู่กลางขน ภายในกลวงเมื่อเม่นแกว่งหางจะเกิดเสียงดัง
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าทุกประเภท ตั้งแต่พื้นที่ราบต่ำถึงบนเขาที่ความสูง 1,500 เมตรจากระดับน้ำทะเล อาศัยตามโพรงดิน ซอกหินตามป่า
พบใน ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ สุมาตรา บอร์เนียว พบในป่าทุกชนิด
-
Chiang Mai (Doi Inthanon, Doi Suthep); Tak (Thung Yai);
Nakhon Ratchasima (Khao Yai); Chaiyaphum (Phu Khieo);
Kanchanaburi (Salak Phra); Phetchaburi (Kaeng Krachan);
Ranong (Khlong Naka); Phangnga (Khao Sok); Trang
(Khao Chong); Phattalung (Khao Pu-Khao Ya).
-
ป่าภูหลวง
-
ผาแต้ม
-
บริเวณบ้านปางพริก ตำบลผาช้างน้อย อำเภอปง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
-
อุทยานแห่งชาติ ตาพระยา
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ดงใหญ่
-
อำเภอธารโต , อำเภอบันนังสตา , อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
สถานที่ชม :
-
สวนสัตว์เปิดเขาเขียว,สวนสัตว์เชียงใหม่,สวนสัตว์นครราชสีมา,สวนสัตว์ขอนแก่น,สวนสัตว์สงขลา,สวนสัตว์อุบลราชธานี
การกระจายพันธุ์ :
-
ทั่วประเทศ
ระบบนิเวศ :
-
Evergreen forest to deciduous forest.
-
ระบบนิเวศภูเขา
-
ระบบนิเวศพื้นที่แห้งแล้งและกึ่งชื้น, ภูเขาหินทรายปกคลุมไปด้วยป่าและลานหิน
-
ระบบนิเวศป่าไม้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่,ตาก,นคราชสีมา,ชัยภูมิ,กาญจนบุรี,เพชรบุรี,ระนอง,พังงา,ตรัง,พัทลุง
-
ทั่วประเทศ
-
เลย
-
อุบลราชธานี
-
พะเยา
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
-
บุรีรัมย์, สระแก้ว
-
สระแก้ว
-
บุรีรัมย์
-
ยะลา
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
อาหาร, ประดับบ้าน, อาวุธ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้ถูกคุกคาม Near Threatened: NT (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
-
NSM
Prachuap khiri khan
NSM
Ranong
NSM
Kanchanaburi
NSM
-
NSM
-
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA661806
661806
2
PRJNA593903
593903
3
PRJNA490787
490787
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 6 Wild mammals in Thailand, 2543
Thailand Red Data: Mammals, Reptiles and Amphibians, 2005
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูถัมป์
IUCN Red List
IUCN Red List
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกปากช้อนหน้าดำ
Platalea minor
Pseudosciaena microlepis
Ramphotyphlops albiceps
ผีเสื้อกะท้อน
Spoladea recurvalis
Rasbora heteromorpha
Zierliana woldemarii
Previous
Next