Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hymenachne acutigluma
Hymenachne acutigluma
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hymenachne acutigluma
(Steud.) Gilliland
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
หญ้าแกน
-
หญ้าถอดปล้อง
ชื่อท้องถิ่น::
-
หญ้าถอดปล้อง หญ้าปล้อง ริมปัต คัมไป
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Poales
วงศ์::
Poaceae
สกุล:
Hymenachne
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:29 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หญ้าอายุกลายปี ลำต้น ทอดยาวลอยน้ำ แตกแขนงบบริเวณข้อ สูง 40-60 ซม. กาบใบผิวเกลี้ยง ใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 10-40 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ลิ้นใบเป็นแผ่นเยื่อบางโค้ง ยาว 0.3-0.5 มม. ดอก เป็นช่อแกน รูปแท่งรี กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. ช่อดอกย่อยรูปหอก สีเขียวเข้ม เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว และหลุดร่วงจากปลายช่อ กาบช่อย่อยรูปไข่ เนื้อบาง เส้นภายใน 3-5 เส้น กาบคลุมล่างรูปหอกหรือรูปไข่ เนื้อบางภายใน 5 เส้นกาบคลุมบนรูปหอกเนื้อหยาบแข็ง ขอบเอนเข้า ปลายแหลมกลีบเกล็ด จำนวน 2 อัน รูปกรวย อับเรณูสีม่วง จำนวน 2 อัน รังไข่รูปรียอดเกสสีขาว
-
พืชชายน้ำ
-
หญ้าอายุกลายปี ลำต้น ทอดยาวลอยน้ำ แตกแขนงบบริเวณข้อ สูง 40-60 ซม. กาบใบผิวเกลี้ยง ใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.8-1 ซม. ยาว 10-40 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ลิ้นใบเป็นแผ่นเยื่อบางโค้ง ยาว 0.3-0.5 มม. ดอก เป็นช่อแกน รูปแท่งรี กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 5-20 ซม. ช่อดอกย่อยรูปหอก สีเขียวเข้ม เมื่อแก่จะเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว และหลุดร่วงจากปลายช่อ กาบช่อย่อยรูปไข่ เนื้อบาง เส้นภายใน 3-5 เส้น กาบคลุมล่างรูปหอกหรือรูปไข่ เนื้อบางภายใน 5 เส้นกาบคลุมบนรูปหอกเนื้อหยาบแข็ง ขอบเอนเข้า ปลายแหลมกลีบเกล็ด จำนวน 2 อัน รูปกรวย อับเรณูสีม่วง จำนวน 2 อัน รังไข่รูปรียอดเกสสีขาว
การกระจายพันธุ์ :
-
พม่า อินโดจีน มาเลเชีย พบบริเวณชายน้ำหรือลอยน้ำออกดอกตลอดปี
-
พม่า อินโดจีน มาเลเชีย พบบริเวณชายน้ำหรือลอยน้ำออกดอกตลอดปี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงโขงหลง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2002-0241
NSM
Chumphon
THNHM-P-2002-0242
NSM
Chumphon
THNHM-P-2002-0243
NSM
Chumphon
THNHM-P-2005-0816
NSM
Trang
THNHM-P-2005-0817
NSM
Trang
THNHM-P-2002-0241
NSM
Chumphon
THNHM-P-2002-0242
NSM
Chumphon
THNHM-P-2002-0243
NSM
Chumphon
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
อังกาบเขา
Barleria biloba
Melicope luna-ankenda
Ficus lacor
กะเรกะร่อนอินทนนท์
Cymbidium
Hoya rigida
Gentiana loureirii
Previous
Next