Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hydnocarpus antelminthica
Hydnocarpus antelminthica
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Homonoia riparia
Lour.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
กระเบาใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระเบา กระเบาตึก กระเบาน้ำ กระเบาเบ้าแข็ง เบา
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malpighiales
วงศ์::
Euphorbiaceae
สกุล:
Hydnocarpus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมรูปไข่ กว้าง 3-7 ซม. ยาว 10-30 ซม. โคนใบมน ปลายใบสอบเรียว ขอบใบเรียบ เนื้อไม้กรอบ ดอกสีเหลืองแกมชมพู แยกเพศและอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ มีกลิ่นหอม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อสั้นๆ คล้ายดอกเพศผู้ รังไข่มีขนสีน้ำตาลแดง ผลสีน้ำตาล ทรงกลม ขนาด 8-12 ซม.ผิวค่อนข้างเรียบ เปลือกแข็ง ภายในมีเมล็ด 30-50 เมล็ด อัดกันแน่น
-
ไม้ยืนต้น สูง 10-20 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปหอกแกมรูปไข่ กว้าง 3-7 ซม. ยาว 10-30 ซม. โคนใบมน ปลายใบสอบเรียว ขอบใบเรียบ เนื้อไม้กรอบ ดอกสีเหลืองแกมชมพู แยกเพศและอยู่ต่างต้น ดอกเพศผู้ออกเดี่ยวๆ ตามซอกใบ มีกลิ่นหอม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรผู้ 5 อัน ดอกเพศเมียออกเป็นช่อสั้นๆ คล้ายดอกเพศผู้ รังไข่มีขนสีน้ำตาลแดง ผลสีน้ำตาล ทรงกลม ขนาด 8-12 ซม.ผิวค่อนข้างเรียบ เปลือกแข็ง ภายในมีเมล็ด 30-50 เมล็ด อัดกันแน่น
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าดิบ และป่าบุ่งป่าทาม ที่ระดับความสูง 30-1,300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
-
พบกระจายในภูมิภาคอินโดจีน ในประเทศไทยพบทุกภาค ตามป่าดิบ และป่าบุ่งป่าทาม ที่ระดับความสูง 30-1,300 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนมกราคม-มิถุนายน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
นครศรีธรรมราช
-
กระบี่, สุราษฎร์ธานี
-
นนทบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า กะทูน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองพระยา
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJEB49299
787880
2
PRJEB49293
787878
3
PRJEB42299
700048
4
PRJNA642004
642004
5
PRJNA550962
550962
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Aristolochia acuminata
เฟินรัศมีโชติ
Blechnum x
rasmijoti ‘The Royal Project’
ก่อขน
Lithocarpus tubulosus
Allium fistulosum
Macaranga lowii
Lasianthus inodorus
Previous
Next