Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hoya kerrii
Hoya kerrii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hoya kerrii
Craib
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hoya obovata subsp. kerrii (Craib) Costantin
- Hoya obovata var. kerrii (Craib) Costantin
ชื่อไทย:
-
หัวใจทศกัณฐ์
-
ด้าง
-
ต้าง
ชื่อท้องถิ่น::
-
ด้าง เทียนขโมย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Hoya
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:23 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่กลับ อวบหนา ขนาดกว้าง 5-9 ซม. ยาว 4-12 ซม. โคนใบสอบหรือมน ปลายใบเว้าตื้น ก้านใบยาว 0.3-1.5 ซม. ดอกสีขาวครีมแกมม่วง ออกเป็นช่อ รูปครึ่งทรงกลม มี 10-15 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 1-1.5ท ซม. เรียงเป็นซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 1-5 ซม. กลีบดอกโคนเชื่อมกันปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลางดอกมีเส้าเกสรเป็นแผ่นรยางค์ 5 แฉก สีม่วง เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักคู่ ยาว 4-10 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก รูปไข่ มีขนยาวเป็นพู่ที่ปลาย
-
ไม้เถาอิงอาศัย มีน้ำยางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่กลับ อวบหนา ขนาดกว้าง 5-9 ซม. ยาว 4-12 ซม. โคนใบสอบหรือมน ปลายใบเว้าตื้น ก้านใบยาว 0.3-1.5 ซม. ดอกสีขาวครีมแกมม่วง ออกเป็นช่อ รูปครึ่งทรงกลม มี 10-15 ดอก ก้านดอกย่อยยาว 1-1.5ท ซม. เรียงเป็นซี่ร่ม ก้านช่อดอกยาว 1-5 ซม. กลีบดอกโคนเชื่อมกันปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลางดอกมีเส้าเกสรเป็นแผ่นรยางค์ 5 แฉก สีม่วง เกสรผู้มี 5 อัน ผลเป็นฝักคู่ ยาว 4-10 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก รูปไข่ มีขนยาวเป็นพู่ที่ปลาย
-
ออกดอกเดือนมีนาคม- พฤษภาคม
การกระจายพันธุ์ :
-
ขึ้นกระจายอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรัง ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
ขึ้นกระจายอยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามป่าเต็งรัง ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคม-พฤษภาคม
-
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประเทศไทยพบตามป่าเต็งรัง
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้เลื้อย/ไม้เถา
-
ไม้เสื้อยอิงอาศัยทุกส่วนมีน้ำยางขาว ใบ เดียวเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ กว้าง 5-9 เซนติเมตร ยาว 4 -12 เซนติเมตร ปลายเว้าตื้น โคนสอบหรือมน แผ่นใบอวบหนา ก้านใบยาว 0.3-1.5 เซนติเมตร ดอก แบบช่อซี่ร่ม รูปครึ่งทรงกลม ก้านช่อดอกยาว 1 - 5 เซนติเมตร ดอกย่อยจำนวน 10 - 15 ดอก สีขาวนวลแกมม่วง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกเชื่อมกัน ปลายแยกเป็น 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 เกสร มีชั้นมงกุฎ รังไข่เหนือวงกลีบ ผล เป็นฝักคู่ ผลย่อยแบบผลแห้งแตกแนวเดียว รูปทรงกระบอก ยาว 4-10 เซนติเมตร เมล็ดรูปไข่ มีพู่ขนยาวที่ปลายข้างหนึ่ง สีขาวที่ปลายด้านหนึ่ง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
มุกดาหาร
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ภูผาเทิบ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
การขยายพันธุ์ :
-
เพาะเมล็ด ปักชํา
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2003-0578
NSM
Nakhon Ratchasima
THNHM-P-2003-0579
NSM
Nakhon Ratchasima
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
มูลนิธิสวนหลวง ร.9
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Bulbophyllum ecornutum
Syzygium nervosum
Lysinotus serratus
Schizostachyum pergracile
Pandanus reticulosus
Thelypteris aspera
Previous
Next