Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hopea oblongifolia
Hopea oblongifolia
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hopea oblongifolia
Dyer
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hopea oblongifolia var. grandis C.E.C.Fisch.
ชื่อไทย::
-
หมอราน
-
กรายดำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
กรายดำ (สุราษฎร์ธานี); หมอราน (กระบี่)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Dipterocarpaceae
สกุล:
Hopea
วันที่อัพเดท :
29 ม.ค. 2564 14:05 น.
วันที่สร้าง:
29 ม.ค. 2564 14:05 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ต้น
-
ไม้ต้น สูง 10-25 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ เปลือกเรียบ บางครั้งมีรากอากาศ กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มกระจายตามกิ่งอ่อน หูใบ กลีบเลี้ยง และช่อดอก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 12-24 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีชมพู มีสีขาวเป็นริ้ว กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์รูปเส้นด้ายยาวได้เกือบ 1 ซม. รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียเรียว ยาวประมาณ 4 มม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 6-12 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลรูปไข่ ยาว 2-2.3 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
พบที่พม่าตอนล่าง และภาคใต้ของไทยที่ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา และกระบี่ ขึ้นริมลำธารในป่าดิบชื้น ความสูง 50-300 เมตร มีชนิดที่คล้ายกันและ ขึ้นใกล้ ๆ กัน มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ซึ่งอาจเป็นชนิด H. mollissima C. Y. Wu ที่ปัจจุบันเป็นชื่อพ้องของ H. chinensis (Merr.) Hand.-Mazz.
-
ไม้ต้น สูง 10-25 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ เปลือกเรียบ บางครั้งมีรากอากาศ กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มกระจายตามกิ่งอ่อน หูใบ กลีบเลี้ยง และช่อดอก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 12-24 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีชมพู มีสีขาวเป็นริ้ว กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์รูปเส้นด้ายยาวได้เกือบ 1 ซม. รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียเรียว ยาวประมาณ 4 มม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 6-12 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลรูปไข่ ยาว 2-2.3 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
พบที่พม่าตอนล่าง และภาคใต้ของไทยที่ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา และกระบี่ ขึ้นริมลำธารในป่าดิบชื้น ความสูง 50-300 เมตร มีชนิดที่คล้ายกันและ ขึ้นใกล้ ๆ กัน มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ซึ่งอาจเป็นชนิด H. mollissima C. Y. Wu ที่ปัจจุบันเป็นชื่อพ้องของ H. chinensis (Merr.) Hand.-Mazz.
-
ไม้ต้น สูง 10-25 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ เปลือกเรียบ บางครั้งมีรากอากาศ กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มกระจายตามกิ่งอ่อน หูใบ กลีบเลี้ยง และช่อดอก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 12-24 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีชมพู มีสีขาวเป็นริ้ว กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์รูปเส้นด้ายยาวได้เกือบ 1 ซม. รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียเรียว ยาวประมาณ 4 มม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 6-12 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลรูปไข่ ยาว 2-2.3 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
พบที่พม่าตอนล่าง และภาคใต้ของไทยที่ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา และกระบี่ ขึ้นริมลำธารในป่าดิบชื้น ความสูง 50-300 เมตร มีชนิดที่คล้ายกันและ ขึ้นใกล้ ๆ กัน มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ซึ่งอาจเป็นชนิด H. mollissima C. Y. Wu ที่ปัจจุบันเป็นชื่อพ้องของ H. chinensis (Merr.) Hand.-Mazz.
-
ไม้ต้น สูง 10-25 ม. โคนต้นมีพูพอนตื้น ๆ เปลือกเรียบ บางครั้งมีรากอากาศ กิ่งมีช่องอากาศ มีขนสั้นนุ่มกระจายตามกิ่งอ่อน หูใบ กลีบเลี้ยง และช่อดอก ใบรูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่ เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 12-24 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีชมพู มีสีขาวเป็นริ้ว กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 6 มม. ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 15 อัน รยางค์รูปเส้นด้ายยาวได้เกือบ 1 ซม. รังไข่และฐานก้านเกสรเพศเมียเรียว ยาวประมาณ 4 มม. ปีกยาว 2 ปีก ยาว 6-12 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลรูปไข่ ยาว 2-2.3 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะเคียนทอง, สกุล)
พบที่พม่าตอนล่าง และภาคใต้ของไทยที่ชุมพร ระนอง สุราษฎร์ธานี พังงา และกระบี่ ขึ้นริมลำธารในป่าดิบชื้น ความสูง 50-300 เมตร มีชนิดที่คล้ายกันและ ขึ้นใกล้ ๆ กัน มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ซึ่งอาจเป็นชนิด H. mollissima C. Y. Wu ที่ปัจจุบันเป็นชื่อพ้องของ H. chinensis (Merr.) Hand.-Mazz.
การกระจายพันธุ์ :
-
Burma, Pen Thailand: Chunphon, Ranong, Surat Thani, Phangnga, Krabi
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Tropical rain forest, to 300 m.
-
เกาะระ-เกาะพระทอง
-
เขตห้ามล่าสัตว์ป่า ป่าเลนคลองม่วงกลวง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองนาคา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า คลองแสง
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ควนแม่ยายหม่อน
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า โตนปริวรรต
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งระยะ-นาสัก
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พังงา
-
ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี, ระนอง
-
สุราษฎร์ธานี
-
ชุมพร, ระนอง
-
ชุมพร, ระนอง
-
พังงา
-
ระนอง, ชุมพร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพใกล้สูญพันธุ์ Endangered: EN (ONEP, 2549)
ที่มาของข้อมูล
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Lindernia junciformis
Argostemma propinquum
Alstonia spatulata
Crepidium perakense
Eriocaulon xenopodion
Litsea laeta
Previous
Next