Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Himantura undulata
Himantura undulata
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Himantura undulata
(Bleeker, 1852)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Trygon undulata Bleeker, 1852
ชื่อสามัญ::
-
Bleeker's Variegated Whipray
-
Honeycomb whipray
-
Honeycomb whipray, leopard whipray, ocellate whipr
ชื่อไทย::
-
กระเบนลายเสือใหญ่
-
กระเบนลายเสือใหญ่, กระเบนลาย, กระเบนลายรวงผึ้ง
-
ปลากระเบนลายเสือใหญ่, ปลากระเบนลาย, ปลากระเบนลายรวงผึ้ง
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Himantura
ที่มา :
มนตรี สุมณฑา และทัศพล กระจ่างดารา
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
23 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 135 ชม. (TL>400 ชม. พบที่ท่เทียบเรือประมงจังหวัดระนอง) ขนาดทั่วไปที่พบ 50-100 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 60-70 ชม. และขนาดแรกเกิด 26-27 ชม.
- ปลายจะงอยปากแหลมยาว ขอบหน้าแผ่นลำตัวโค้ง ลายบนแผ่นลำตัวเป็นวงขนาดใหญ่ขอบสีน้ำตาลเข้มกระจายทั่วไปต่อเป็นร่างแหคล้ายรวงผึ้ง (ในปลาขนาดเล็ก จุดทึบขนาดใหญ่มีลวดลายที่ชัดเจน) มี
ตุ่มนูนใหญ่กลางหลังเป็นเม็ดกลมเหมือนไข่มุกสีเหลือง 2-3 เม็ด ส่วนหางเรียวยาวมีลายจุดสีเข้มกระจายทั่ว มีเงี่ยง 1 อัน ไม่มีแผ่นหนังที่ทาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาล และด้านท้องมีสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามชายฝั่งทะเล จนถึงระดับความลึกน้ำ 70 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภคกระดูกสันหลังใช้เป็นส่วนผสมยา และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Buccinum undatum
Pilumnopeus makianus
แมลงปอเสือสุมาตรา แมลงปอเสือยักษ์สุมาตรา
Megalogomphus sumatranus
Gonodontis pallida
ตูหนา
Anguilla australis
Zebrasoma flavescens
Previous
Next