Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Himantura leoparda
Himantura leoparda
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Himantura leoparda
Manjaji-Matsumoto & Last, 2008
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Trygon russellii Gray, 1834
ชื่อสามัญ::
-
Leopard Whipray
-
Leopard whipray
-
Leopard whipray, undulate whipray
ชื่อไทย::
-
กระเบนลายเสือดาว
-
กระเบนลายเสือดาว, กระเบนลายเสือ
-
ปลากระเบนลายเสือดาว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Myliobatiformes
วงศ์::
Dasyatidae
สกุล:
Himantura
ที่มา :
มนตรี สุมณฑา และวัชชิระ โซ่โดบ
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 140 ซม. (TL 410 ชม.) ขนาดทั่วไปที่พบ 50-100 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 70-80 ชม. เพศเมีย 100-110 ชม. และขนาดแรกเกิด 20 ชม.
- ปลายจะงอยปากแหลม ขอบหน้าแผ่นลำตัวโค้งเว้าเป็นลอนคลื่น ลายบนแผ่นลำตัวเป็นวงขนาดเล็กขอบสีน้ำตาลเข้มกระจายทั่วไปคล้ายลายเสือดาว (ปลาขนาดเล็ก จุดทึบขนาดใหญ่เป็นลวดลายที่ชัดเจน) อาจมีตุ่มนูนรูปหัวใจกลางหลังเป็นต่อเป็นแถว 10-15 อัน (อันใหญ่สุด 2 อัน) ส่วนหางเรียวยาวมีลายจุดสีเข้มกระจายทั่ว มีเงี่ยง 1 อัน ไม่มีแผ่นหนังที่ทาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาลออกเหลือง และด้านท้องมีสีขาว
- มีรายงานข้อมูลชีวิวิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว และปลาที่โตเต็มวัยมีอายุมากกว่า 20 ปี ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามชายฝั่งทะเล จนถึงไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 70 เมตร
การกระจายพันธุ์ :
-
ซึ่งในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์ :
-
เนื้อนำมาบริโภค และผิวหนังใช้ทำเครื่องหนัง
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ปลาแขยงใบข้าว
Mystus singaringa
Murex occa
Naxa textilis
ปลาแขยงภูเขา
Batas iofluviatilis
Stolephorus commersonii
ปลาหมอแคระแม่กลอง
Badis khwae
Previous
Next