Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hierococcyx sparverioides
Hierococcyx sparverioides
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hierococcyx sparverioides
(Vigors, 1832)
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Large Hawk Cuckoo
-
Large Hawk-Cuckoo
ชื่อไทย::
-
นกคัคคูเหยี่ยวใหญ่
-
นกคัดคูเหยี่ยวใหญ่
ชื่อท้องถิ่น::
-
นกคัคคูเหยี่ยวใหญ่
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Aves
อันดับ:
Cuculiformes
วงศ์::
Cuculidae
สกุล:
Hierococcyx
ที่มา :
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
ปรับปรุงล่าสุด :
3 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
26 ก.พ. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
26 ก.พ. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
นก
-
นกขนาดเล็ก-กลาง (44 ซม.) ตัวเต็มวัยบริเวณกระหม่อม ท้ายทอยและด้านข้าคอสีเทา ส่วนอื่นๆ ที่เหลือทางด้านบนลำตัวสีน้ำตาลแกมเทา ด้านบนของหางสีน้ำตาล มีลายแถบสีดำ ปลายทางสีขาวหรือขาวแกมน้ำตาล โต้คางสีดำ คอหอยสีเทามีลายขีดสีขาว สีเทา และสีน้ำตาลแดง อกตอนบนสีน้ำตาลแดง ท้ห้องสีขาวมีลายพาดสีน้ำตาลแดง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
หัวเทา หนังรอบตาเหลือง คางดำ ลำตัวด้านบนเทา อกน้ำตตาลแดง มีขีดสีคล้ำมกระจาย อก ท้อง และสีข้างมีลายขวางกว้างสีเทาดำ หางเทามีบั้งกว้างสีเข้ม นกอ่อนวัย : หัวน้ำตาลแกมเทา ท้ายทอยน้ำตาลแดง มีลายขีดที่อกและท้อง
ระบบนิเวศ :
-
ป่าดิบ ป่าโปร่ง อาจพบในป่าชายเลนและสวนในช่วงอพยพ
-
พบตามป่าคงดิบแล้ง ป่าคงดิบเขา และบริเวณป่าละเมาะ พบโดดเดี่ยว มักเกาะตามกิ่งไม้ที่มีใบค่อนข้างแน่นทึบ อาจจะกระโดดจากกิ่งหนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง หรือบินจากกิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง อาหารส่วนใหญ่ได้แก่ ตัวหนอนต่างๆ และแมลงต่างๆ โดยใช้ปากจิกกินตามลำต้น กิ่งและยอดอ่อนของต้นไม้ ไม้พุ่ม และไม้พื้นล่างต่างๆ
-
ระบบนิเวศภูเขา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
บึงบอระเพ็ด, นครสวรรค์
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
เลย
-
กรุงเทพมหานคร
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
นครราชสีมา, ปราจีนบุรี
การขยายพันธุ์ :
-
การผสมพันธุ์ เป็นนกปรสิต ไม่สร้างรัง ฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกของตัวเอง แต่จะไปวางไข่ในรังของนกอื่นๆ สีของไข่มี 2 แบบ คือ สีฟ้าอ่อน และสีน้ำตาล หลังจากออกไข่ทิ้งไว้ในรังของนกต่างๆ แล้ว จะปล่อยให้นกเจ้าของรังฟักไข่
และเลี้ยงดูลูกอ่อนให้ พ่อแม่ที่แท้จริงไม่ได้สนใจไข่และลูกอ่อนอีกเลย
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าภูหลวง
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ทับลาน
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, )
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2016)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 7 Birds of Bung Boraphet, 2543
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
กองจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
บริษัท บี.กริม เพาเวอร์ จำกัด (มหาชน)
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 5 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศภูเขา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช
สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่งประเทศไทย
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
กดขี้ลิง
Hexanematichthys sagor
Schedorhinotermes medioobscurus
Herochroma xuthopletes
Teredo furcifera
ผีเสื้อจุดเหลี่ยมขนปุย
Sebastonyma pudens
Pethia stoliczkana
Previous
Next