Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hibiscus glanduliferus
Hibiscus glanduliferus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hibiscus glanduliferus
Craib
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ปอต่อม
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Malvaceae
สกุล:
Hibiscus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:28 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นเกือบเกลี้ยง ใบ เดี่ยว เรียงเวียน สลับ รูปแผ่เกือบกลม ขนาด 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ขอบใบหยักตื้น ผิวใบด้านล่างมีขน บริเวณโคนเส้นกลาง ใบมีต่อม ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ยาว 6-12 ซม. ใบประดับเป็นกาบรูปไข่ ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 10 ซม. มีริ้วประดับ ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียน ซ้อนกัน ส่วนโคนเชื่อมกัน ใจกลางดอกมีแต้มสีม่วงเข้ม เกสรผู้ จำนวนมาก เชื่อมกันเป็นหลอด ก้านเกสรเมียปลายแยก 5 แฉก ผล รูปกระสวย กว้าง 2 ซม.ยาวถึง 3 ซม. ผลแก่แตกตามสันยาว เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
-
ไม้พุ่ม สูง 1-1.5 เมตร ลำต้นเกือบเกลี้ยง ใบ เดี่ยว เรียงเวียน สลับ รูปแผ่เกือบกลม ขนาด 6-10 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบเว้า รูปหัวใจ ขอบใบหยักตื้น ผิวใบด้านล่างมีขน บริเวณโคนเส้นกลาง ใบมีต่อม ดอก สีเหลืองสด ออกเป็นช่อที่ปลายยอด ยาว 6-12 ซม. ใบประดับเป็นกาบรูปไข่ ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 10 ซม. มีริ้วประดับ ปลายแยกเป็น 5 แฉก มีขน กลีบดอก 5 กลีบ เรียงเวียน ซ้อนกัน ส่วนโคนเชื่อมกัน ใจกลางดอกมีแต้มสีม่วงเข้ม เกสรผู้ จำนวนมาก เชื่อมกันเป็นหลอด ก้านเกสรเมียปลายแยก 5 แฉก ผล รูปกระสวย กว้าง 2 ซม.ยาวถึง 3 ซม. ผลแก่แตกตามสันยาว เมล็ดขนาดเล็ก รูปไต
การกระจายพันธุ์ :
-
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบในป่าผลัดใบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคกลาง ที่ระดับความสูงได้ถึง 500 เมตร ออกดอก ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
-
ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ประเทศไทยพบในป่าผลัดใบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก เฉียงเหนือและภาคกลาง ที่ระดับความสูงได้ถึง 500 เมตร ออกดอก ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย, เพชรบูรณ์
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูหลวง
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dioscorea garrettii
Pottsia densiflora
Plumeria acutifolia
โตงโฮ้ง
Microglossa pyrifolia
Loxogramme scolopendrina
Bombax insigne
Previous
Next