Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Hemirhamphodon pogonognathus
Hemirhamphodon pogonognathus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Hemirhamphodon pogonognathus
(Bleeker, 1853)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Hemiramphus pogonognathus Bleeker, 1853
- Hemirhamphus pogonognathus Bleeker, 1853
ชื่อไทย:
-
ปลาเข็มพรุ
-
เข็มงวง
-
ปลาเข็มงวง
ชื่อท้องถิ่น::
-
อีแกลูโยะ
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Beloniformes
วงศ์::
Zenarchopteridae
สกุล:
Hemirhamphodon
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 12:03 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 12:03 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Peat swamp
-
อยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ 5-20 ตัว พบที่พรุโต๊ะแดง กินแมลงโดยเฉพาะมดและแมลงอื่นๆ ที่บินตกลงน้ำ
การกระจายพันธุ์ :
-
Sundaic
-
พบตั้งแต่ภาคใต้ของไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ ถึงสุมาตราและบอร์เนียว
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ลักษณะคล้ายปลาเข็มแต่มีขนาดใหญ่กว่ามากและมีจะงอยปลากล่างยาว ปลายเป็นติ่งหนังที่ยาวออกคล้ายงวงโง้งลงด้านล่าง ใต้จะงอยปากล่างมีริ้วแผ่นหนังยาว ครีบหลังมีฐานยาวมีก้านครีบ 11-12 อัน ครีบหางมีปลายมน ครีบก้นมีฐานสั้นแต่ด้านครีบยาวโค้ง ครีบท้องค่อนข้างใหญ่ ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียและมีส่วนของครีบที่ใหญ่ยาวกว่า หัวและตัวมีสีเขียวอมเหลือง ด้านหลังสีคล้ำ ตามีขอบสีฟ้า และมีแต้มสีแดงเรื่อ ด้านท้องสีจาง บนตัวอาจมีจุดละเอียดสีแดง ครีบสีเหลืองสดหรือเหลืองอ่อน ครีบหลังมีขอบสีแดงคล้ำ ครีบหาง ครีบก้นมีขอบสีฟ้าเรืองแสง จะงอยปากล่างสีคล้ำ ตอนปลายสีดำหรือแดง ริ้วหนังใต้จะงอยปากล่างสีฟ้าหรือ
เหลืองมีขอบสีแดงหรือสีดำ ขนาดพบใหญ่สุด 10 เซนติเมตร
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พรุโต๊ะแดง
-
นราธิวาส
การขยายพันธุ์ :
-
มีการผสมพันธุ์ภายในตัวและออกลูกเป็นตัวขนาดประมาณ 1 เซนติเมตร ครั้งละ 1-4 ตัว แต่พบมีการอุ้มท้องอยู่ถึง 2 ตัว และอาจมีการเลี้ยงดูลูกโดยสำรอกอาหารให้
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ (พรุโต๊ะแดง)
-
คลองโต๊ะแดง
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
NIFI 01841
ปัตตานี
alcohol
NIFI 02695
นราธิวาส
alcohol
NIFI 03275
นราธิวาส
alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
ONEP Biodiversity Series Vol. 16 : Thailand Red Data : Fishes
กรมประมง
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
นกติ๊ดใหญ่
Parus major
Lophophelma funebrosa
Ophthalmitis cordularioides
Harengula fimbriata
Pylopaguropsis lewinsohni
Thalathoides conjecturalis
Previous
Next