Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Amomum testaceum
Amomum testaceum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Amomum testaceum
Ridl.
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Camphor seed, Siam cardamon
ชื่อไทย::
-
กระวาน
ชื่อท้องถิ่น::
-
กระวานไทย กระวานโพธิสัตว์
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Amomum
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:43 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:43 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ส่วนเหนือดินสูงประมาณ 1.5 - 2 ม. ใบรูปแถบ ปลายใบเป็นติ่งยาว ผิวใบด้านล่างมีขนปกคลุม ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับบางคล้ายกระดาษสีนํ้าตาล กลีบเลี้ยงมีขนปกคลุม กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีขาว มีแถบสีเหลืองบริเวณปลายกลีบมีแถบสีแดง 2 แถบขนานกันบริเวณกลางกลีบ ผลกลม เมื่อแห้งมีสีนํ้าตาล เมล็ดขนาดเล็กสีดำ มีกลิ่นหอม
-
ไม้ล้มลุก
-
ส่วนเหนือดินสูงประมาณ 1.5 - 2 ม. ใบรูปแถบ ปลายใบเป็นติ่งยาว ผิวใบด้านล่างมีขนปกคลุม ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับบางคล้ายกระดาษสีนํ้าตาล กลีบเลี้ยงมีขนปกคลุม กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีขาว มีแถบสีเหลืองบริเวณปลายกลีบมีแถบสีแดง 2 แถบขนานกันบริเวณกลางกลีบ ผลกลม เมื่อแห้งมีสีนํ้าตาล เมล็ดขนาดเล็กสีดำ มีกลิ่นหอม
-
ส่วนเหนือดินสูงประมาณ 1.5 - 2 ม. ใบรูปแถบ ปลายใบเป็นติ่งยาว ผิวใบด้านล่างมีขนปกคลุม ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับบางคล้ายกระดาษสีนํ้าตาล กลีบเลี้ยงมีขนปกคลุม กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีขาว มีแถบสีเหลืองบริเวณปลายกลีบมีแถบสีแดง 2 แถบขนานกันบริเวณกลางกลีบ ผลกลม เมื่อแห้งมีสีนํ้าตาล เมล็ดขนาดเล็กสีดำ มีกลิ่นหอม
-
ส่วนเหนือดินสูงประมาณ 1.5 - 2 ม. ใบรูปแถบ ปลายใบเป็นติ่งยาว ผิวใบด้านล่างมีขนปกคลุม ช่อดอกเกิดจากเหง้า ใบประดับบางคล้ายกระดาษสีนํ้าตาล กลีบเลี้ยงมีขนปกคลุม กลีบดอกสีขาว กลีบปากสีขาว มีแถบสีเหลืองบริเวณปลายกลีบมีแถบสีแดง 2 แถบขนานกันบริเวณกลางกลีบ ผลกลม เมื่อแห้งมีสีนํ้าตาล เมล็ดขนาดเล็กสีดำ มีกลิ่นหอม
การกระจายพันธุ์ :
-
ในประเทศไทยพบเป็นพืชปลูกในจังหวัดพัทลุง ต่างประเทศพบบริเวณเกาะบอร์เนียว
-
ในประเทศไทยพบเป็นพืชปลูกในจังหวัดพัทลุง ต่างประเทศพบบริเวณเกาะบอร์เนียว
-
ในประเทศไทยพบเป็นพืชปลูกในจังหวัดพัทลุง ต่างประเทศพบบริเวณเกาะบอร์เนียว
-
ในประเทศไทยพบเป็นพืชปลูกในจังหวัดพัทลุง ต่างประเทศพบบริเวณเกาะบอร์เนียว
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Brassica juncea
Homaliodendron javanicum
Codium cicatrix
หญ้าหนวดแมว
Orthosiphon grandiflorus
Anadendrum griseum
Jasminum perissanthum
Previous
Next