Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gymnura zonura
Gymnura zonura
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gymnura zonura
(Bleeker, 1852)
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Aetoplatea zonura Bleeker, 1852
- Pteroplatea zonura (Bleeker, 1852)
ชื่อสามัญ::
-
Zonetail butterfly ray
-
Zonetail Butterfly Ray
-
Zonetail butterfly ray, Bleeker's butterfly ray
-
Zonetail butterfly ray, Japanese butterfly ray
ชื่อไทย:
-
กระเบนผีเสื้อหางลาย, กระเบนผีเสื้อ
-
กระเบนผีเสื้อหางลาย
-
ปลากระเบนผีเสื้อหางลาย
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Rajiformes
วงศ์::
Gymnuridae
สกุล:
Gymnura
ที่มา :
ดร.ชวลิต วิทยานนท์
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
9 ม.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อ่าวไทย ทะเลอันดามัน
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
-ขนาดความยาว สูงสุด 108 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 30-50 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศของเพศผู้ 46-50 ซม. เพศเมีย 78 ซม. และขนาดแรกเกิด 20-21 ชม.
- แผ่นลำตัวเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีความกว้าง 1.8-2.1 เท่าของความยาว มีระยะจากรูก้นถึงปลายหางมากกว่า 1/2 ของความยาวจากปลายจะงอยปากถึงรูกัน หรือยาว 23-36 % ของความกว้างแผ่นลำตัว มีครีบหลังและเงี่ยงขนาดเล็กที่โคนหาง แผ่นลำตัวด้านบนมีสีน้ำตาล มีจุดขาวกระจายทั่ว หางมีแถบสีน้ำตาลเข้ม 6-10 แถบ (อาจมีจุดสีเข้มแทรกในแถบสีอ่อน) ด้านท้องสีขาวหรือน้ำตาลอ่อน
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 2-4 ตัว ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก กุ้งและปูเป็นอาหาร
ระบบนิเวศ :
-
บริเวณพื้นท้องทะเลที่เป็นโคลนหรือทรายตามชายฝั่งทะเลถึงระดับความลึกน้ำ 40 เมตร (ส่วนใหญ่พบที่ระดับความลึกน้ำไม่เกิน 35 เมตร)
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบทั้งทางฝั่งอ่าวไทยและทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
เนื้อนำมาบริโภคได้
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (IUCN, 2006)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2563)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพมีแนวโน้มใกล้สูญพันธุ์ Vulnerable: VU (ONEP, 2560)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
PMBC-1-PIS-12168
PMBC
Alchohol
ทะเล
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
กรมประมง
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Photopectoralis bindus
Conus orbignyi
ด้วงดอกไม้ดำหัวตัด
Rhomborrhina jeanneli
Labidocera minuta
Euthalia phenius
Gymnocaesio gymnoptera
Previous
Next