Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Gymnopetalum scabrum
Gymnopetalum scabrum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Gymnopetalum scabrum
(Lour.) De Wild. & Duyfjes
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Taeng mo pa
ชื่อไทย:
-
ขี้กาแดง
-
แตงโมป่า
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Cucurbitales
วงศ์::
Cucurbitaceae
สกุล:
Trichosanthes
วันที่อัพเดท :
30 มิ.ย. 2564 19:03 น.
วันที่สร้าง:
30 มิ.ย. 2564 19:03 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถ้าล้มลุก ลำต้นสาก มือเกาะมี 1-2 แฉก ใบเดี่ยวเรียงแบบบันไดเวียนห่าง ๆ ใบรูปไข่ป้อม ๆ หรือเกือบกลมมี 5 เหลี่ยม หรือ 5 แฉก โคนใบเว้าเป็นรูปหัวใจ ขอบใบเกือบเรียบ หรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ปลายใบแหลม ผิวด้านบนสากและหยาบ ด้านล่างมีขนหนาแน่น ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามง่ามใบ ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียเกิดบนต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้มีกลีบเลี้ยงที่โคนเชื่อมติดกันเป็นท่อยาวปลายแยกออกเป็นแฉกรูปหอก 5 แฉก มีขนสีน้ำตาลหนาแน่น กลีบดอก 5 กลีบ ติดกันที่โคนกลีบเพียงเล็กน้อย กลีบรูปไข่กลับ สีขาว มีเส้นสีเหลืองมีขน ดอกเพศเมียมีกลีบเลี้ยงและกลีบดอก ลักษณะเหมือนดอกเพศผู้ รังไข่รูปขอบขนาน ภายในมี 1 ช่อง ท่อรังไข่ปลายแยกเป็นแฉกยาว รูปขอบขนาน 3 แฉก ผลรูปกลม สีแดงอมส้ม ผิวเรียบ เมล็ดรูปรีแบนขอบเรียบ
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชชนิดนี้มีเขตการกระจายพันธุ์ในประเทศไทยทั่วทุกภาค พบตามป่าละเมาะและที่รกร้างทั่วไป ที่สูงตั้งแต่ระดับน้ำทะเลถึงประมาณ 1,000 เมตร ในต่างประเทศพบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และมาเลเซีย
ที่มาของข้อมูล
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Strelitzia reginae
Ophiorrhiza alata
Pinalia xanthocheila
ผักชีโคก
Scolophyllum spinifidium
Oberonia stenophylla
Cuscuta japonica
Previous
Next