Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Globba winitii
Globba winitii
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Globba winitii
C.H.Wright
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย::
-
ข่าเจ้าคุณวิจิตร
-
กล้วยจะก่าหลวง
-
ต้นเข้าพรรษา, กล้วยจะก่าหลวง
ชื่อท้องถิ่น::
-
กล้วยจะก่าหลวง
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Globba
ที่มา :
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ต.ค. 2561
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:40 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:40 น.
ข้อมูลทั่วไป
ระบบนิเวศ :
-
Fertile soil under semi-deciduous forest,
250-1,250 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Endemic.
-
พบขึ้นได้ดีในเขตร้อน ตามพื้นที่ชุ่มชื้น ที่ระดับน้ำทะเลจนถึงความสูง 400 ม. ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
-
N Thailand: Tak, Lampang
-
พบขึ้นได้ดีในเขตร้อน ตามพื้นที่ชุ่มชื้น ที่ระดับน้ำทะเลจนถึงความสูง 400 ม. ออกดอกช่วงเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,Tak
-
Endemic
-
ลำปาง
-
สุรินทร์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 15-25 ซม. โคนรูปหัวใจแคบ ๆ แฉกลึก ใบอ่อนมีขน ก้านใบยาว 5-7 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนง ยาว 8-15 ซม. โค้งลง ใบประดับรูปไข่กว้างหรือแกมรูปขอบขนาน สีขาวอมม่วง ชมพู หรือม่วงเข้ม ยาว 1-3 ซม. ช่อแขนงมี 2-3 ดอก ใบประดับย่อยขนาดเล็กกว่าใบประดับ กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยก 3 แฉก หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกยาวประมาณ 5 มม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบดอก กลีบปากรูปสามเหลี่ยม กางออกสองข้าง ก้านชูอับเรณูโค้งลง ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายอับเรณูแผ่รูปดาวข้างละ 2 แฉก ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรรูปถ้วย ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 7 มม. จัก 3 พูตื้น ๆ ผิวขรุขระ มี 6 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ว่านทับทิมสยาม, สกุล)
-
พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงประมาณ 50-70 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 10-20 ซม. ยาว 15-25 ซม. ใบอ่อนมีขนสีขาวเล็กๆ ปกคลุม โคนใบมน ปลายใบแหลม ก้านใบเรียว ส่วนโคนแผ่เป็นกาบหุ้มซ้อนกันเป็นลำต้นเทียม ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายยอดยาว 8-15 ซม. ห้อยโค้งลง มีใบประดับรูปไข่แกมรีสีขาวชมพูถึงสีม่วงหรือขาวรองรับ แต่ละแขนงจะมีดอก 2-3 ดอก กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นหลอดสีเขียว กลีบดอกสีเหลืองพัฒนามาจากเกสรผู้ที่เป็นหมัน เกสรผู้ 1 อัน มีก้านชูเกสรงอนโค้ง ยาว 2 ซม. ที่ปลายแผ่เป็น 4 แฉกรูปดาว ผลรูปไข่ขนาด 7 มม. ผิวด้านนอกเว้าเป็น 3 พู ภายในมี 6 เมล็ด
-
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 70 ซม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 15–25 ซม. โคนรูปหัวใจแคบ ๆ แฉกลึก ใบอ่อนมีขน ก้านใบยาว 5–7 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนง ยาว 8–15 ซม. โค้งลง ใบประดับรูปไข่กว้างหรือแกมรูปขอบขนาน สีขาวอมม่วง ชมพู หรือม่วงเข้ม ยาว 1–3 ซม. ช่อแขนงมี 2–3 ดอก ใบประดับย่อยขนาดเล็กกว่าใบประดับ กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยก 3 แฉก หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบดอกยาวประมาณ 5 มม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบดอก กลีบปากรูปสามเหลี่ยม กางออกสองข้าง ก้านชูอับเรณูโค้งลง ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายอับเรณูแผ่รูปดาวข้างละ 2 แฉก ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรรูปถ้วย ผลรูปไข่ ยาวประมาณ 7 มม. จัก 3 พูตื้น ๆ ผิวขรุขระ มี 6 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ว่านทับทิมสยาม, สกุล)
-
พืชล้มลุกอายุหลายปี มีเหง้าใต้ดิน สูงประมาณ 50-70 ซม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปไข่แกมรูปรี กว้าง 10-20 ซม. ยาว 15-25 ซม. ใบอ่อนมีขนสีขาวเล็กๆ ปกคลุม โคนใบมน ปลายใบแหลม ก้านใบเรียว ส่วนโคนแผ่เป็นกาบหุ้มซ้อนกันเป็นลำต้นเทียม ดอกสีเหลือง ออกเป็นช่อที่ปลายยอดยาว 8-15 ซม. ห้อยโค้งลง มีใบประดับรูปไข่แกมรีสีขาวชมพูถึงสีม่วงหรือขาวรองรับ แต่ละแขนงจะมีดอก 2-3 ดอก กลีบรองดอกเชื่อมกันเป็นหลอดสีเขียว กลีบดอกสีเหลืองพัฒนามาจากเกสรผู้ที่เป็นหมัน เกสรผู้ 1 อัน มีก้านชูเกสรงอนโค้ง ยาว 2 ซม. ที่ปลายแผ่เป็น 4 แฉกรูปดาว ผลรูปไข่ขนาด 7 มม. ผิวด้านนอกเว้าเป็น 3 พู ภายในมี 6 เมล็ด
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้ล้มลุก
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
Mixed deciduous forest, 400 m.
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บ้านทำนบ หมู่ที่ 4 ต.กันตวจระมวล อ.ปราสาท จ.สุรินทร์
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA493546
493546
2
PRJNA302314
302314
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ONEP Biodiversity Series Vol. 17 : Thailand Red Data : Plants (2006)
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
หนังสือ พรรณไม้มีคุณค่าจากป่าสาธารณะประโยชน์ บ้านทำนบ, กองทุนสิ่งแวดล้อม สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
IUCN Red List
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Chirita smitinandii
Vandellia laotica
Madhuca punctata
Magnolia siamensis
Ischaemum hubbardii
Utricularia limosa
Previous
Next