Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Acampe papillosa
Acampe papillosa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Acampe papillosa
(Lindl.) Lindl.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ช้างสารภีน้อย
ชื่อท้องถิ่น::
-
Chang saraphi noi
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Acampe
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
2 ก.ย. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:26 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-20 ซม. ใบ รูปขอบขนาน คล้ายรางน้ำ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-2 ซม. ดอกย่อยเรียงแน่น เป็นกระจุกกลม จำนวน 8-14 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและ กลีบดอกโค้งมาด้านหน้า สีเขียวอมเหลือง และมีขีดตามขวาง สีน้ำตาลแดง กลีบปากสีขาว ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-20 ซม. ใบ รูปขอบขนาน คล้ายรางน้ำ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-2 ซม. ดอกย่อยเรียงแน่น เป็นกระจุกกลม จำนวน 8-14 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและ กลีบดอกโค้งมาด้านหน้า สีเขียวอมเหลือง และมีขีดตามขวาง สีน้ำตาลแดง กลีบปากสีขาว ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-20 ซม. ใบ รูปขอบขนาน คล้ายรางน้ำ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-2 ซม. ดอกย่อยเรียงแน่น เป็นกระจุกกลม จำนวน 8-14 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและ กลีบดอกโค้งมาด้านหน้า สีเขียวอมเหลือง และมีขีดตามขวาง สีน้ำตาลแดง กลีบปากสีขาว ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 10-20 ซม. ใบ รูปขอบขนาน คล้ายรางน้ำ กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 10 ซม. ดอก ออกเป็นช่อ ตามซอกใบ ก้านช่อยาว 1.5-2 ซม. ดอกย่อยเรียงแน่น เป็นกระจุกกลม จำนวน 8-14 ดอกต่อช่อ กลีบเลี้ยงและ กลีบดอกโค้งมาด้านหน้า สีเขียวอมเหลือง และมีขีดตามขวาง สีน้ำตาลแดง กลีบปากสีขาว ดอกบานเต็มที่กว้าง 1 ซม. พบตามป่าผลัดใบ ที่ระดับความสูง 400-600 เมตร ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก ออกดอกช่วง เดือนธันวาคม-กุมภาพันธ์
การกระจายพันธุ์ :
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-
อินเดีย และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เชียงใหม่, ดอยสุเทพ, แม่ออน, แม่ฮ่องสอน, นครราชสีมา, กาญจนบุรี, ศรีสวัสดิ์, ไทรโยค
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cephalomanes meifolium
Acampe thailandica
Phragmites australis
กล้วยน้ำว้า กล้วยหอม
Musa sapientum
Lemna aequinoctialis
Leptochilus pentaphyllus
Previous
Next