Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Amalocalyx microlobus
Amalocalyx microlobus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Amalocalyx microlobus
Pierre
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Amalocalyx burmanicus Chatterjee
- Amalocalyx yunnanensis Tsiang
ชื่อไทย::
-
หยั่งสมุทร
ชื่อท้องถิ่น::
-
เครือกิ่วคา เครือข้าวนึ่ง แตงเถื่อน มะจินดา ส้มจี
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Gentianales
วงศ์::
Apocynaceae
สกุล:
Amalocalyx
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
1 ก.ย. 2563
ที่มา :
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
ปรับปรุงล่าสุด :
1 ก.ย. 2563
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
-
ไม้เถา น้ำยางสีขาว กิ่งมีขนสั้นนุ่มและขนสาก กิ่งแก่เกลี้ยง เป็นคอร์ก ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่กลับ ยาว 3.5–24 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบมีขนละเอียดทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.8–4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาว 9–25 ซม. ดอกหนาแน่นช่วงปลายช่อ กลีบเลี้ยงรูปรีหรือรูปแถบ ยาว 0.5–1 ซม. มีต่อมที่โคนด้านใน ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปแตร สีขาวอมม่วงหรือชมพู ด้านในมีสีเข้ม เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบดอกยาว 2–3 ซม. มี 5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 3–6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้กึ่งกลางหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูยาว 5–6 มม. จานฐานดอกเป็นวง สูงกว่ารังไข่ มี 2 คาร์เพล ปลายเชื่อมติดกันเป็นก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5–2.2 ซม. รวมยอดเกสร ผลแตกแนวเดียวออกเป็นคู่ โคนและปลายเชื่อมติดกัน ยาว 6–9 ซม. แต่ละฝักกว้าง 1.6–1.8 ซม. ผนังผลเป็นคอร์ก เป็นสัน มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีกระจุกขนยาวประมาณ 4 ซม.
-
ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
-
ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
-
ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านท้องงใบมีขนนุ่มหนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้ 5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จำนวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
การกระจายพันธุ์ :
-
พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
-
พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นทั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
อำเภอเชียงคำ อำเภอปง พะเยา, อำเภอสองแคว น่าน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
พะเยา,น่าน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJEB60482
947039
2
PRJNA888630
888630
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น (Dry and Sub-humid Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Cynoglossum furcatum
Thelypteris flaccida
Dendrocalamus longispathus
Etlingera yunnanensis
หนังหนาผลติ่ง
Monoon fuscum
หัวล้านชนกัน
Merremia mammosa
Previous
Next