Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Eulophia spectabilis
Eulophia spectabilis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Eulophia spectabilis
(Dennst.) Suresh
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ว่านหัวครู
ชื่อท้องถิ่น::
-
ว่านหัวครู
-
ว่านดิน
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Eulophia
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:16 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:16 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Terrestrial orchid.
-
กล้วยไม้ดิน มีเหง้าค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 ซม. ใบ แผ่แบน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 30-50 ซม. ทิ้งใบเมื่อ ผลิดอก ดอก เป็นช่อตั้งออกจากโคนกอ ยาว 60-100 ซม. กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวอ่อน หรือสีชมพูถึงสีแดงอมม่วง และมีแต้มสีเหลืองเข้มที่กลางกลีบปาก ดอกบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3 ซม. พบทั่วประเทศ ตามทุ่งโล่งและป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 200-2,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน
-
กล้วยไม้ดิน มีเหง้าค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 ซม. ใบ แผ่แบน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 30-50 ซม. ทิ้งใบเมื่อ ผลิดอก ดอก เป็นช่อตั้งออกจากโคนกอ ยาว 60-100 ซม. กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวอ่อน หรือสีชมพูถึงสีแดงอมม่วง และมีแต้มสีเหลืองเข้มที่กลางกลีบปาก ดอกบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3 ซม. พบทั่วประเทศ ตามทุ่งโล่งและป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 200-2,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน
-
กล้วยไม้ดิน มีเหง้าค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 ซม. ใบ แผ่แบน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 30-50 ซม. ทิ้งใบเมื่อ ผลิดอก ดอก เป็นช่อตั้งออกจากโคนกอ ยาว 60-100 ซม. กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวอ่อน หรือสีชมพูถึงสีแดงอมม่วง และมีแต้มสีเหลืองเข้มที่กลางกลีบปาก ดอกบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3 ซม. พบทั่วประเทศ ตามทุ่งโล่งและป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 200-2,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน
-
กล้วยไม้ดิน มีเหง้าค่อนข้างกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-6 ซม. ใบ แผ่แบน กว้าง 4-6 ซม. ยาว 30-50 ซม. ทิ้งใบเมื่อ ผลิดอก ดอก เป็นช่อตั้งออกจากโคนกอ ยาว 60-100 ซม. กลีบ เลี้ยงและกลีบดอกสีเขียวอ่อน หรือสีชมพูถึงสีแดงอมม่วง และมีแต้มสีเหลืองเข้มที่กลางกลีบปาก ดอกบานเต็มที่ กว้าง 2.5-3 ซม. พบทั่วประเทศ ตามทุ่งโล่งและป่าดิบเขา ที่ระดับ ความสูง 200-2,100 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มิถุนายน
ระบบนิเวศ :
-
Tropical evergreen forest, dry evergreen forest, mixed deciduous forest, dry deciduous dipterocarp forest, hill evergreen forest, 0-2,100 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
Tropical and Subtropical Asia to W Pacific.
-
อินเดีย จีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
-
อินเดีย จีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
-
อินเดีย จีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
-
อินเดีย จีนตอนใต้ และเอเชียตะวันออก เฉียงใต้
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
Widelydistributed
-
กระจายอยู่ทั่วไป
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
โสมคน, โสมไทย, โสมกินใบ, ว่านผักปัง
Talinum paniculatum
ถั่วไมยรา
Desmanthus virgatus
Clematis burmanica
Carex lageniformis
พู่ชมพู
Calliandra haematocephala
Diospyros thaiensis
Previous
Next