Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพของประเทศไทย
พื้นที่อนุรักษ์ตามกฎหมายและพื้นที่ OECMs
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Altingia excelsa
Altingia excelsa
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Altingia excelsa
Noronha
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
กระตุก
-
สบ
ชื่อท้องถิ่น::
-
สบ หอม นูด ตำยาน ปรก
-
Tam trok (Kyah Kur language), Prok (Chaiyaphum)
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Saxifragales
วงศ์::
Altingiaceae
สกุล:
Liquidambar
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:24 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
-
ไม้ต้นสูงได้ถึง 30 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปรี กว้าง 2-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. โคนใบสอบมน ปลายใบแหลม แผ่นใบเกลี้ยง ขอบใบมักเป็นคลื่น ก้านใบยาว 2-6 ซม. ดอกแยกเพศขนาดเล็ก ไม่มีกลีบรองดอกและกลีบดอก ดอกเพศผู้อยู่บนช่อแกน เกสรผู้ 4 อัน ดอกเพศเมียรวมกันอยู่เป็นก้อนกลมมีดอกย่อย 4-18 ดอก ผลเป็นผลกลุ่ม ทรงกลม ผิวขรุขระ แข็ง สีน้ำตาล ขนาด 1-2 ซม.
การกระจายพันธุ์ :
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
-
จากอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ถึงอินโดนีเซีย ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือลภาคตะวันออกเฉียงเหนือ บริเวณป่าดิบเขาริมน้ำ ที่ระดับความสูง 100-800 ม. ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระบุรี, นครราชสีมา, ปราจีนบุรี, นครนายก
-
สระแก้ว
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ชัยภูมิ
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ เขาใหญ่
-
อุทยานแห่งชาติ ปางสีดา
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ภูเขียว
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Nakhon Ratchasima
NSM
Nakhon Ratchasima
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA797539
797539
2
PRJNA642541
642541
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Dioscorea filicaulis
Stephania tomentella
Vernonia namnaoensis
Elatostema monandrum
Vanda bensonii
Elaeodendron glaucum
Previous
Next