Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Etmopterus sculptus
Etmopterus sculptus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Etmopterus sculptus
Ebert, Compagno & De Vries, 2011
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Sculpted Lantern shark
-
Sculptured lanternshark
-
Sculpted lanternshark
ชื่อไทย:
-
ฉลามท้องดำ
-
ปลาฉลามท้องดำ, ปลาฉลามน้ำลึก
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Elasmobranchii
อันดับ:
Squaliformes
วงศ์::
Etmopteridae
สกุล:
Etmopterus
ที่มา :
Oddgeir Alvheim, IMR (Ebert and Mostarda, 2013)
ปรับปรุงล่าสุด :
13 ก.พ. 2567
วันที่อัพเดท :
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
19 ก.ค. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ทะเลอันดามัน
ระบบนิเวศ :
-
Marine
-
บริเวณพื้นท้องทะเลตามไหล่ทวีปที่ระดับความลึกน้ำ 240-1,023 เมตร
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
- ขนาดความยาว สูงสุด 59 ชม. ขนาดทั่วไปที่พบ 20-25 ชม. ขนาดสมบูรณ์เพศ 42 ชม.
- ส่วนหัวเล็ก ตาโตมาก ครีบหลังอันแรกเล็กมากมีหนามแข็งสั้นหน้าครีบ ลำตัวสีน้ำตาลเข้ม และด้านท้องมีสีดำ มีแถบเป็นแนวเส้นสีดำด้านข้างลำตัวเหนือฐานครีบท้องถึงคอดหาง โดยเส้นเหนือฐานครีบท้องยาวกว่าหรือเท่ากับเส้นที่คอดหาง และมีเส้นสีดำเล็กๆที่โคนหางตอนล่าง ปลายครีบหางตอนบนมีสีดำ
- มีรายงานข้อมูลชีววิทยาของปลาชนิดนี้น้อยมาก ซึ่งเป็นชนิดที่ออกลูกเป็นตัว ครั้งละ 1-2 ตัว โดยตัวอ่อนได้รับสารอาหารจากถุงไข่แดง ส่วนใหญ่กินปลาขนาดเล็ก ปลาหมึก กุ้งและดาวทะเลเป็นอาหาร
การกระจายพันธุ์ :
-
ในเขตน่านน้ำไทย พบเฉพาะทางฝั่งทะเลอันดามัน
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
วัตถุประสงค์การนำมาใช้ประโยชน์
-
ตับใช้ทำน้ำมันตับปลาและสกัดวิตามินเอ
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2019)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพข้อมูลไม่เพียงพอ Data Deficient: DD (ONEP, 2563)
ที่มาของข้อมูล
ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง, 2560, กรมประมง
วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 24 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ.2562
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
โรนันหัวใส
Rhinobatos lionotus
หนูขนเสี้ยนสีน้ำตาลแดง
Niviventer fulvescens
Arhopala asinarus
แค้ติดหิน
Glyptothorax zanaensis
Diodora graeca
ผีเสื้อหนอนกินใบสะแก
Odonestis erectilinea
Previous
Next