Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Esomus metallicus
Esomus metallicus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Esomus metallicus
Ahl, 1923
Status:
ACCEPTED
ชื่อสามัญ::
-
Flying barb
-
Striped flying barb
-
Metallic Flying Barb
-
Striped flying barb, Fowler's danio
ชื่อไทย:
-
ซิวหนวดยาวแถบดำ
-
ปลาซิวหนวดยาว
-
ซิวหนวด
-
ซิวหนวดยาว
ชื่อท้องถิ่น::
-
อาเนาะซูลุแว
อาณาจักร::
Animalia
ไฟลัม::
Chordata
ชั้น::
Actinopterygii
อันดับ:
Cypriniformes
วงศ์::
Cyprinidae
สกุล:
Esomus
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
4 ก.ค. 2566
ที่มา :
ศิริวรรณ สุขศรี
ปรับปรุงล่าสุด :
20 ส.ค. 2563
วันที่อัพเดท :
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
วันที่สร้าง:
9 ก.ย. 2562 20:30 น.
ข้อมูลทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
ลุ่มน้ำปิง, ห้วยแม่ท้อ แม่น้ำปิง
-
นาข้าว ดอยอินทนนท์และอำเภอจอมทอง
-
น้ำแม่แตง
-
ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว เชียงราย
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
เป็นปลาซิวขนาดกลาง มีรูปร่างทรงกระบอกแบนข้างเล็กน้อย ปากกว้าง มีหนวด 2 คู่ คู่บนขากรรไกรยาวถึงโคนหาง ครีบอกใหญ่ ดูคล้ายปีก เกล็ดใหญ่ ครีบหลังค่อนไปทางด้านท้าย ครีบหางเว้าลึก คอดหางค่อนข้างเรียว ตัวมีสีน้ำตาลอ่อนหรือเหลือบทอง มีแถบสีคล้ำพาดขวางกลาง ลำตัวตามยาวตั้งแต่หลังช่องเหงือกถึงโคนหาง ครีบใส ขนาด
พบใหญ่สุด 7 เซนติเมตร พบทั่วไปขนาด 5 เซนติเมตร
-
เป็นปลาซิวขนาดเล็กสามารถเลี้ยงเป็นฝูงอุปนิสัยว่องไวปราดเปรียว อยู่บริเวณผิวน้ำ มีรูปร่างเพียวยาวและแบนข้าง ปากกว้างเฉียงขึ้นด้านบน มีหนวด 2 คู่ คู่บนขากรรไกรยาวถึงโคนหาง พื้นลำตัวมีสีน้ำตาลอ่อนอมเหลือง มีแถบสีคล้ำพาดกลางลำตัวตั้งแต่หลังช่องเหงือกถึงโคนหาง ครีบใส ครีบอกใหญ่ ครีบหลังค่อนไปทางด้านท้าย ครีบหางใหญ่และเว้าลึก คอดหางค่อนข้างเรียว ขนาดเฉลี่ยความยาวประมาณ 5 ซม.
ระบบนิเวศ :
-
อาศัยอยู่เป็นฝูงใหญ่ ชอบว่ายขึ้นผิวน้ำ กินแมลงและแพลงค์ตอน มักถูกจับได้รวมกับปลาเล็กอื่นๆ หรือกุ้งฝอย
-
ระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน
-
ระบบนิเวศเกษตร
-
Fresh Water
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในแหล่งน้ำนิ่งทั่วไป และแม่น้ำทั่วทุกภาค ยกเว้นแม่น้ำสาละวิน
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
พรุคันธุลี, พรุไม้ขาว, พรุโต๊ะแดง, พรุในภาคตะวันออก
-
พื้นที่ชุ่มน้ำบึงราชนก/พิษณุโลก
-
ตาก
-
เชียงใหม่
-
เชียงใหม่
-
เชียงราย
ถิ่นอาศัย :
-
แม่น้ำ หนอง บึง น้ำตก ลำธาร ทั่วไป
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์
-
อาหาร
สถานภาพการคุกคาม
สถานภาพการคุกคาม (โลก) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (IUCN, 2012)
สถานภาพการคุกคาม (ไทย) :
-
สิ่งมีชีวิตที่มีสถานภาพเป็นกังวลน้อยที่สุด Least Concern: LC (ONEP, 2563)
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
อุดรธานี
alcohol
อุดรธานี
alcohol
นครสวรรค์
alcohol
นครสวรรค์
alcohol
ฉะเชิงเทรา
alcohol
นครสวรรค์
alcohol
นราธิวาส
alcohol
ปัตตานี
alcohol
เชียงใหม่
alcohol
เชียงราย
alcohol
หนองคาย
alcohol
ปราจีนบุรี
alcohol
ขอนแก่น
alcohol
เชียงใหม่
alcohol
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
สถานที่
ที่มาของข้อมูล
Freshwater FISHES IN THAILAND
OEPP Biodiversity Series Vol. 12 Peat Swamp Fishes of Thailand, 2545
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
กรมประมง
กรมป่าไม้
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 4 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแหล่งน้ำในแผ่นดิน, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 7 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศเกษตร, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2563.
IUCN Red List
กรมประมง
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
ผีเสื้อเหยี่ยว
Smerinthulus perversa
งูทางมะพร้าวมลายู
Coelognathus flavolineatus
Mitra papalis
Synalpheus tumidomanus
Cardita variegata
จิ้มฟันจระเข้แคระ
Indostomus spinosus
Previous
Next