-
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนปลายอวบ บวมกว่าส่วนโคน ใบ รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6 ซม. กลีบประดับ ใหญ่สีเหลือง ดอก ออกตามซอกใบ ค่อนข้างหุบ ขนาดกว้างประมาณ 6 มม. สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปใบหอก กลีบปากรูป ขอบขนานแกมรูปไข่ มีสันตามยาว 2 สัน เส้าเกสรส่วนโคนยืดยาวชัดเจน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนปลายอวบ บวมกว่าส่วนโคน ใบ รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6 ซม. กลีบประดับ ใหญ่สีเหลือง ดอก ออกตามซอกใบ ค่อนข้างหุบ ขนาดกว้างประมาณ 6 มม. สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปใบหอก กลีบปากรูป ขอบขนานแกมรูปไข่ มีสันตามยาว 2 สัน เส้าเกสรส่วนโคนยืดยาวชัดเจน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนปลายอวบ บวมกว่าส่วนโคน ใบ รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6 ซม. กลีบประดับ ใหญ่สีเหลือง ดอก ออกตามซอกใบ ค่อนข้างหุบ ขนาดกว้างประมาณ 6 มม. สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปใบหอก กลีบปากรูป ขอบขนานแกมรูปไข่ มีสันตามยาว 2 สัน เส้าเกสรส่วนโคนยืดยาวชัดเจน
-
กล้วยไม้อิงอาศัย ลำลูกกล้วยยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนปลายอวบ บวมกว่าส่วนโคน ใบ รูปใบหอก กว้าง 2-3 ซม. ยาว 6 ซม. กลีบประดับ ใหญ่สีเหลือง ดอก ออกตามซอกใบ ค่อนข้างหุบ ขนาดกว้างประมาณ 6 มม. สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอก รูปใบหอก กลีบปากรูป ขอบขนานแกมรูปไข่ มีสันตามยาว 2 สัน เส้าเกสรส่วนโคนยืดยาวชัดเจน
-
ระบบนิเวศ :
-
Hill evergreen forest, 900-1,400 m alt.
-
การกระจายพันธุ์ :
-
India, Myanmar, Laos, Vietnam, Borneo, Java, Sumatra, Lesser Sunda Is.
-
พบตามป่าดิบเขาและป่าดิบแล้งในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ออกดอกเดือนพฤศจิกายน
-
พบตามป่าดิบเขาและป่าดิบแล้งในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ออกดอกเดือนพฤศจิกายน
-
พบตามป่าดิบเขาและป่าดิบแล้งในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ออกดอกเดือนพฤศจิกายน
-
พบตามป่าดิบเขาและป่าดิบแล้งในภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต้ ออกดอกเดือนพฤศจิกายน
-
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
ChiangMai,NakhonRatchasima,Kanchanaburi,Phetchaburi,NakhonSiThammarat,Phatthalung,Satun,Narathiwat
-
เชียงใหม่, นครราชสีมา, เขาใหญ่, กาญจนบุรี, ศรีสวัสดิ์, พัทลุง, นครศรีธรรมราช, เขาหลวง, คีรีวง, นราธิวาส, สุไหงปาดี, สตูล, เขาเขียว