Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Equisetum debile
Equisetum debile
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Equisetum debile
Roxb. ex Vaucher
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
หญ้าถอดปล้อง
ชื่อท้องถิ่น::
-
เครือเซาะปอยวา แยปอ หญ้าเงือก หญ้าหูหนวก หญ้าถอดบ้
-
หญ้าเงือก, หญ้าถอดปล้อง, หญ้าหูหนวก
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Polypodiopsida
อันดับ:
Equisetales
วงศ์::
Equisetaceae
สกุล:
Equisetum
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:22 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
เป็นพืชชั้นต่ำที่มีท่อลำเลียง ไม่มีดอก ลำต้นกลม สีเขียว ภายในกลวง มีรอยแตกขนานตามยาวของลำต้น รูปทรงกระบอก สูงถึง 1 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง (0.2) 4-7 มม. แตกกิ่งก้านน้อย มีข้อปล้องชัดเจน ใบเป็นเยื่อบางๆ รูปสามเหลี่ยมรอบข้อ ยาว 8 มม. ผลลักษณะเป็นโคนเกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายกิ่ง รูปกลมรีป้อมๆ ขนาดกว้าง 0.3-0.6 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. ผิวนอกมีตาเป็นรูปหลายเหลี่ยมชัดเจน ภายในมีสปอร์เพื่อการขยายพันธุ์ เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล
-
มีต้นสูงไม่เกิน 1 เมตร มีข้อปล้องชัด ปล้องยาว ถึง 6.5 เซนติเมตร มีสันจำนวนมาก เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 มิลลิเมตร การแตกแขนงของกิ่งแบบวงรอบ มี 3-4 กิ่ง ใบเรียงเป็นวงรอบและเชื่อมเป็นปลอกหุ้มลำต้นยาวถึง 6 มิลลิเมตร ที่ปลายกิ่งแขนงเกือบทุกกิ่งมีสโตรบิรัส ยาวไม่เกิน 1 เซนติเมตร ลักษณะเด่นที่พบคือเกือบทุกแขนงกิ่งที่ปลายยอด มีสโตรบิรัส ยาวไม่เกิน 1 เซนติเมตร
-
เป็นพืชชั้นต่ำที่มีท่อลำเลียง ไม่มีดอก ลำต้นกลม สีเขียว ภายในกลวง มีรอยแตกขนานตามยาวของลำต้น รูปทรงกระบอก สูงถึง 1 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง (0.2) 4-7 มม. แตกกิ่งก้านน้อย มีข้อปล้องชัดเจน ใบเป็นเยื่อบางๆ รูปสามเหลี่ยมรอบข้อ ยาว 8 มม. ผลลักษณะเป็นโคนเกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายกิ่ง รูปกลมรีป้อมๆ ขนาดกว้าง 0.3-0.6 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. ผิวนอกมีตาเป็นรูปหลายเหลี่ยมชัดเจน ภายในมีสปอร์เพื่อการขยายพันธุ์ เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล
-
เป็นพืชชั้นต่ำที่มีท่อลำเลียง ไม่มีดอก ลำต้นกลม สีเขียว ภายในกลวง มีรอยแตกขนานตามยาวของลำต้น รูปทรงกระบอก สูงถึง 1 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง (0.2) 4-7 มม. แตกกิ่งก้านน้อย มีข้อปล้องชัดเจน ใบเป็นเยื่อบางๆ รูปสามเหลี่ยมรอบข้อ ยาว 8 มม. ผลลักษณะเป็นโคนเกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายกิ่ง รูปกลมรีป้อมๆ ขนาดกว้าง 0.3-0.6 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. ผิวนอกมีตาเป็นรูปหลายเหลี่ยมชัดเจน ภายในมีสปอร์เพื่อการขยายพันธุ์ เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล
-
เป็นพืชชั้นต่ำที่มีท่อลำเลียง ไม่มีดอก ลำต้นกลม สีเขียว ภายในกลวง มีรอยแตกขนานตามยาวของลำต้น รูปทรงกระบอก สูงถึง 1 เมตร ขนาดผ่าศูนย์กลาง (0.2) 4-7 มม. แตกกิ่งก้านน้อย มีข้อปล้องชัดเจน ใบเป็นเยื่อบางๆ รูปสามเหลี่ยมรอบข้อ ยาว 8 มม. ผลลักษณะเป็นโคนเกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายกิ่ง รูปกลมรีป้อมๆ ขนาดกว้าง 0.3-0.6 ซม. ยาวประมาณ 1 ซม. ผิวนอกมีตาเป็นรูปหลายเหลี่ยมชัดเจน ภายในมีสปอร์เพื่อการขยายพันธุ์ เมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาล
การกระจายพันธุ์ :
-
พบตั้งแต่อินเดีย จีนตอนใต้ อินโดจีน ไต้หวัน ไทย มาเลเซียและโพลีนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ชอบขึ้นตามที่ชื้นริมน้ำ บริเวณน้ำตกและที่โล่งแจ้ง ที่ระดับความสูงปานกลาง
-
พบตั้งแต่อินเดีย จีนตอนใต้ อินโดจีน ไต้หวัน ไทย มาเลเซียและโพลีนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ชอบขึ้นตามที่ชื้นริมน้ำ บริเวณน้ำตกและที่โล่งแจ้ง ที่ระดับความสูงปานกลาง
-
พบตั้งแต่อินเดีย จีนตอนใต้ อินโดจีน ไต้หวัน ไทย มาเลเซียและโพลีนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ชอบขึ้นตามที่ชื้นริมน้ำ บริเวณน้ำตกและที่โล่งแจ้ง ที่ระดับความสูงปานกลาง
-
พบตั้งแต่อินเดีย จีนตอนใต้ อินโดจีน ไต้หวัน ไทย มาเลเซียและโพลีนีเซีย ในประเทศไทยพบได้ทุกภาคของประเทศ ชอบขึ้นตามที่ชื้นริมน้ำ บริเวณน้ำตกและที่โล่งแจ้ง ที่ระดับความสูงปานกลาง
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เลย, หนองบัวลำภู
-
เชียงใหม่
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
ป่าดอยอินทนนท์, ริมถนนทางเข้าน้ำตกสิริภูมิ
ที่มาของข้อมูล
OEPP Biodiversity Series Vol. 11 Pteridophytes in Thailand, 2543
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 2 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศป่าไม้, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เข็มสร้อย
Daphne composita(L.f.)
Phoenix loureiroi
ราชดัด
Ailanthus triphysa
Elsholtzia communis
Tricholepis karensium
Lophanthera lactescens
Previous
Next