Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Epigeneium amplum
Epigeneium amplum
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Epigeneium amplum
(Lindl.) Summerh.
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
เอื้องกระเจี้ยง
-
เอื้องศรีเที่ยง เอื้องกระเจี้ยง
ชื่อท้องถิ่น::
-
เอื้องกระเจี้ยง
-
เอื้องศรีเที่ยง เอื้องกว่าง
-
Ueagn kra chiang
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Asparagales
วงศ์::
Orchidaceae
สกุล:
Dendrobium
วันที่อัพเดท :
19 มิ.ย. 2562 03:15 น.
วันที่สร้าง:
19 มิ.ย. 2562 03:15 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
Epiphytic orchid, lithophytic orchid.
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-15 ซม. ลำลูกกล้วย รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 8-12 ซม. จำนวน 2 ใบ ต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเดี่ยวที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอ่อน มีประสีน้ำตาลเข้มทั่วกลีบ กลีบปากสีม่วงแกมน้ำตาลเข้ม เกือบดำ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-6 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนตุลาคม-มกราคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-15 ซม. ลำลูกกล้วย รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 8-12 ซม. จำนวน 2 ใบ ต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเดี่ยวที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอ่อน มีประสีน้ำตาลเข้มทั่วกลีบ กลีบปากสีม่วงแกมน้ำตาลเข้ม เกือบดำ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-6 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนตุลาคม-มกราคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-15 ซม. ลำลูกกล้วย รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 8-12 ซม. จำนวน 2 ใบ ต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเดี่ยวที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอ่อน มีประสีน้ำตาลเข้มทั่วกลีบ กลีบปากสีม่วงแกมน้ำตาลเข้ม เกือบดำ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-6 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนตุลาคม-มกราคม
-
กล้วยไม้อิงอาศัย สูง 12-15 ซม. ลำลูกกล้วย รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. ใบ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 3-4 ซม. ยาว 8-12 ซม. จำนวน 2 ใบ ต่อลำลูกกล้วย ดอก ออกเดี่ยวที่ปลายยอด กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองอ่อน มีประสีน้ำตาลเข้มทั่วกลีบ กลีบปากสีม่วงแกมน้ำตาลเข้ม เกือบดำ ดอกบานเต็มที่กว้าง 5-6 ซม. พบตามป่าดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200-1,500 เมตร ทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ออกดอกช่วง เดือนตุลาคม-มกราคม
ระบบนิเวศ :
-
Hill evergreen forest, 900-1,500 m alt.
การกระจายพันธุ์ :
-
NE India, Nepal, Bangladesh, Myanmar, China, Vietnam.
-
อินเดีย เนปาล เมียนม่าร์ และไทย
-
อินเดีย เนปาล เมียนม่าร์ และไทย
-
อินเดีย เนปาล เมียนม่าร์ และไทย
-
อินเดีย เนปาล เมียนม่าร์ และไทย
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
MaeHongSon,ChiangMai,Phitsanulok,Loei,Phetchaburi(KaengKrachan)
-
เชียงใหม่, ดอยอินทนนท์, ดอยนางแก้ว, แม่ฮ่องสอน, เลย, ภูหลวง
ที่มาของข้อมูล
Checklist of Plants in Thailand Volume I ปี 2557 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
OEPP Biodiversity Series Vol. 8 ORCHIDS OF THAILAND, 2542
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Homaliodendron montagneanum
แก้มขาว
Mussaenda scanderiana
Ficus mollissima
Bulbophyllum longerepens
Ophiorrhiza communis
Carex pruinosa
Previous
Next