Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Enkleia siamensis
Enkleia siamensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Enkleia siamensis
(Kurz) Nevling
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย:
-
ปอเต่าไห้
ชื่อท้องถิ่น::
-
พันไฉน เต่าไห้ พญาไม้ผุ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Malvales
วงศ์::
Thymelaeaceae
สกุล:
Enkleia
ที่มา :
ฉัตรชัย เงินแสงสรวย
ปรับปรุงล่าสุด :
10 ก.ค. 2566
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:35 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:35 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 เมตร หรือไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ไม่มีขน ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับหรือรูปเกือบกลม ยาว 1-5 เซนติเมตร กว้าง 0.5-2 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือแหลมมน ฐานใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบแก่ไม่มีขนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบร่ม ออกที่ปลายยอด ใบประดับช่อดอกรูปรี ยาว 1-8 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.5 มิลลิเมตร ผิวมีขนทั้งสองด้าน ก้านดอกย่อยยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว 0.4-1.5 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกสีเขียว รูปลิ้น ยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กว้าง 0.5-2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้ เรียง 3 วงไล่ระดับลงมาจากโคนแฉกกลีบถึงกลางหลอดกลีบดอก แต่ละวงมี 5 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ติดอับเรณูที่ฐาน อับเรณูสีเหลืองถึงสีส้ม รูปรี อับเรณูที่อยู่วงล่างสุดติดกับยอดเกสรเพศเมีย ยาว 0.05-1 มิลลิเมตร อับเรณูที่อยู่เหนือขึ้นไปยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร และอับเรณูที่ติดกับโคนแฉกกลีบดอกแต่ละแฉกยาว 0.1-3 มิลลิเมตร เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.1-7 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-3มิลลิเมตร ผิวมีขน ก้านชูเกสรยาว 0.1-2 มิลลิเมตร ยอดเกสรกลม
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 เมตร หรือไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ไม่มีขน ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับหรือรูปเกือบกลม ยาว 1-5 เซนติเมตร กว้าง 0.5-2 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือแหลมมน ฐานใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบแก่ไม่มีขนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบร่ม ออกที่ปลายยอด ใบประดับช่อดอกรูปรี ยาว 1-8 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.5 มิลลิเมตร ผิวมีขนทั้งสองด้าน ก้านดอกย่อยยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว 0.4-1.5 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกสีเขียว รูปลิ้น ยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กว้าง 0.5-2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้ เรียง 3 วงไล่ระดับลงมาจากโคนแฉกกลีบถึงกลางหลอดกลีบดอก แต่ละวงมี 5 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ติดอับเรณูที่ฐาน อับเรณูสีเหลืองถึงสีส้ม รูปรี อับเรณูที่อยู่วงล่างสุดติดกับยอดเกสรเพศเมีย ยาว 0.05-1 มิลลิเมตร อับเรณูที่อยู่เหนือขึ้นไปยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร และอับเรณูที่ติดกับโคนแฉกกลีบดอกแต่ละแฉกยาว 0.1-3 มิลลิเมตร เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.1-7 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-3มิลลิเมตร ผิวมีขน ก้านชูเกสรยาว 0.1-2 มิลลิเมตร ยอดเกสรกลม
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 เมตร หรือไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ไม่มีขน ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับหรือรูปเกือบกลม ยาว 1-5 เซนติเมตร กว้าง 0.5-2 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือแหลมมน ฐานใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบแก่ไม่มีขนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบร่ม ออกที่ปลายยอด ใบประดับช่อดอกรูปรี ยาว 1-8 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.5 มิลลิเมตร ผิวมีขนทั้งสองด้าน ก้านดอกย่อยยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว 0.4-1.5 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกสีเขียว รูปลิ้น ยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กว้าง 0.5-2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้ เรียง 3 วงไล่ระดับลงมาจากโคนแฉกกลีบถึงกลางหลอดกลีบดอก แต่ละวงมี 5 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ติดอับเรณูที่ฐาน อับเรณูสีเหลืองถึงสีส้ม รูปรี อับเรณูที่อยู่วงล่างสุดติดกับยอดเกสรเพศเมีย ยาว 0.05-1 มิลลิเมตร อับเรณูที่อยู่เหนือขึ้นไปยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร และอับเรณูที่ติดกับโคนแฉกกลีบดอกแต่ละแฉกยาว 0.1-3 มิลลิเมตร เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.1-7 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-3มิลลิเมตร ผิวมีขน ก้านชูเกสรยาว 0.1-2 มิลลิเมตร ยอดเกสรกลม
-
ไม้พุ่มสูง 0.5-1 เมตร หรือไม้พุ่มรอเลื้อย กิ่งอ่อนมีขน กิ่งแก่ไม่มีขน ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือสลับ รูปรีหรือรูปไข่กลับหรือรูปเกือบกลม ยาว 1-5 เซนติเมตร กว้าง 0.5-2 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือแหลมมน ฐานใบสอบ ขอบใบเรียบ ผิวใบอ่อนมีขนทั้งสองด้าน ใบแก่ไม่มีขนทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 1-3 มิลลิเมตร ดอกช่อแบบร่ม ออกที่ปลายยอด ใบประดับช่อดอกรูปรี ยาว 1-8 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-0.5 มิลลิเมตร ผิวมีขนทั้งสองด้าน ก้านดอกย่อยยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กลีบเลี้ยงเป็นหลอดยาว 0.4-1.5 มิลลิเมตร ปลายแยกเป็น 5 แฉก กลีบดอกสีเขียว รูปลิ้น ยาว 0.1-5 มิลลิเมตร กว้าง 0.5-2 มิลลิเมตร เกสรเพศผู้ เรียง 3 วงไล่ระดับลงมาจากโคนแฉกกลีบถึงกลางหลอดกลีบดอก แต่ละวงมี 5 อัน ก้านชูเกสรยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร ติดอับเรณูที่ฐาน อับเรณูสีเหลืองถึงสีส้ม รูปรี อับเรณูที่อยู่วงล่างสุดติดกับยอดเกสรเพศเมีย ยาว 0.05-1 มิลลิเมตร อับเรณูที่อยู่เหนือขึ้นไปยาว 0.1-0.2 มิลลิเมตร และอับเรณูที่ติดกับโคนแฉกกลีบดอกแต่ละแฉกยาว 0.1-3 มิลลิเมตร เกสรเพศเมีย รังไข่เหนือวงกลีบ รูปรี ยาว 0.1-7 มิลลิเมตร กว้าง 0.1-3มิลลิเมตร ผิวมีขน ก้านชูเกสรยาว 0.1-2 มิลลิเมตร ยอดเกสรกลม
การกระจายพันธุ์ :
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
-
นครราชสีมา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
อุตรดิตถ์,แพร่
-
มุกดาหาร
-
ราชบุรี
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
อำเภอเมืองอุตรดิตถ์ อำเภอลับแล อุตรดิตถ์, อำเภอวังชิ้น อำเภอเด่นชัย แพร่
-
ภูผาเทิบ
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า แม่น้ำภาชี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ไม้พุ่ม
ข้อมูลเชิงพิพิธภัณฑ์
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
THNHM-P-2003-0164
NSM
Ratchaburi
THNHM-P-2003-0165
NSM
Ratchaburi
Barcode
ชื่อพิพิธภัณฑ์
จังหวัด
ลักษณะ
ที่มาของข้อมูล
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ระบบนิเวศป่าไม้ (Forest Ecosystem) โครงการติดตามและวิเคราะห์ประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพ ในพื้นที่วิกฤตทางความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity Hotspots) จังหวัดอุตรดิตถ์ แพร่ น่าน และพะเยา, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 กันยายน 2554
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการสำรวจและจัดทำข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพ เล่มที่ 8 ความหลากหลายทางชีวภาพระบบนิเวศแห้งแล้งและกึ่งชื้น, ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 มีนาคม 2549
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Combretum decandrum
Amomum lappaceum
สันตะวาใบข้าว
Blyxa echinosperma
Dorcoceras geoffrayi
Dracaena griffithii
แคนแลน
Spathiostemon moniliformis
Previous
Next