Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย NEW
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
การใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
แบบประเมินความพึงพอใจ NEW
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Alphonsea tonkinensis
Alphonsea tonkinensis
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Drimycarpus racemosus
(Roxb.) Hook.f.
Status:
ACCEPTED
ชื่อไทย:
-
-
ชื่อท้องถิ่น::
-
-
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Sapindales
วงศ์::
Anacardiaceae
สกุล:
Alphonsea
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:34 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้นสูง 8-13 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือเบี่ยงเล็กน้อย รูปขอบขนาน รูปหอก ถึงรูปรีแคบๆ ใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง กว้าง 3-6 ซม. ยาว13-18 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม เส้นใบ 9-12 คู่ ก้านใบยาว 3-6 มม. ดอกออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 2-3 ดอก บางครั้งเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 3-6 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.5-2.5 มม. กลีบดอกหนา สีเหลืองครีมมี 6 กลีบเรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 5-7 มม. ยาว 10-12 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมากรวมกันเป็นกระจุกแน่นอยู่รอบเกสรเพศเมีย ผลเป็นผลกลุ่ม 1-2 ผล รูปทรงกระบอก กว้าง 3-5 ซม.ยาว 5-9 ซม. สีเหลืองผิวเรียบไม่มีก้าน เมล็ดจำนวน 12-14 เมล็ด
-
ไม้ต้นสูง 8-13 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือเบี่ยงเล็กน้อย รูปขอบขนาน รูปหอก ถึงรูปรีแคบๆ ใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง กว้าง 3-6 ซม. ยาว13-18 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม เส้นใบ 9-12 คู่ ก้านใบยาว 3-6 มม. ดอกออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 2-3 ดอก บางครั้งเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 3-6 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.5-2.5 มม. กลีบดอกหนา สีเหลืองครีมมี 6 กลีบเรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 5-7 มม. ยาว 10-12 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมากรวมกันเป็นกระจุกแน่นอยู่รอบเกสรเพศเมีย ผลเป็นผลกลุ่ม 1-2 ผล รูปทรงกระบอก กว้าง 3-5 ซม.ยาว 5-9 ซม. สีเหลืองผิวเรียบไม่มีก้าน เมล็ดจำนวน 12-14 เมล็ด
-
ไม้ต้นสูง 8-13 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือเบี่ยงเล็กน้อย รูปขอบขนาน รูปหอก ถึงรูปรีแคบๆ ใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง กว้าง 3-6 ซม. ยาว13-18 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม เส้นใบ 9-12 คู่ ก้านใบยาว 3-6 มม. ดอกออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 2-3 ดอก บางครั้งเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 3-6 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.5-2.5 มม. กลีบดอกหนา สีเหลืองครีมมี 6 กลีบเรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 5-7 มม. ยาว 10-12 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมากรวมกันเป็นกระจุกแน่นอยู่รอบเกสรเพศเมีย ผลเป็นผลกลุ่ม 1-2 ผล รูปทรงกระบอก กว้าง 3-5 ซม.ยาว 5-9 ซม. สีเหลืองผิวเรียบไม่มีก้าน เมล็ดจำนวน 12-14 เมล็ด
-
ไม้ต้นสูง 8-13 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือเบี่ยงเล็กน้อย รูปขอบขนาน รูปหอก ถึงรูปรีแคบๆ ใบค่อนข้างหนาคล้ายแผ่นหนัง กว้าง 3-6 ซม. ยาว13-18 ซม. โคนใบรูปลิ่ม ปลายใบแหลมถึงเรียวแหลม เส้นใบ 9-12 คู่ ก้านใบยาว 3-6 มม. ดอกออกเป็นช่อตรงข้ามกับใบ มี 2-3 ดอก บางครั้งเป็นดอกเดี่ยว ก้านดอกยาว 3-6 มม. มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสีเขียว 3 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว 1.5-2.5 มม. กลีบดอกหนา สีเหลืองครีมมี 6 กลีบเรียงเป็น 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กว้าง 5-7 มม. ยาว 10-12 มม. เกสรเพศผู้จำนวนมากรวมกันเป็นกระจุกแน่นอยู่รอบเกสรเพศเมีย ผลเป็นผลกลุ่ม 1-2 ผล รูปทรงกระบอก กว้าง 3-5 ซม.ยาว 5-9 ซม. สีเหลืองผิวเรียบไม่มีก้าน เมล็ดจำนวน 12-14 เมล็ด
การกระจายพันธุ์ :
-
พบกระจายในลาวและเวียดนาม ประเทศไทยพบ ในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,500-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
-
พบกระจายในลาวและเวียดนาม ประเทศไทยพบ ในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,500-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
-
พบกระจายในลาวและเวียดนาม ประเทศไทยพบ ในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,500-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
-
พบกระจายในลาวและเวียดนาม ประเทศไทยพบ ในป่าดิบเขา ที่ระดับความสูง 1,500-1,700 เมตร ออกดอกช่วงเดือนกรกฎาคม-กันยายน ติดผลช่วงเดือนกุมภาพันธ์-กรกฎาคม
ที่มาของข้อมูล
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Grewia cuspidatoserrata
Calamus platyspathus
Antidesma thwaetisianum
Ficus arnottiana
จันทน์ดง
Beilschmiedia assamica
Ptyssiglottis isophylla
Previous
Next