Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Elettariopsis biphylla
Elettariopsis biphylla
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Elettariopsis biphylla
Saensouk & P.Saensouk
Status:
SYNONYM
ชื่อไทย::
-
ขิงนกข่อ
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Zingiberales
วงศ์::
Zingiberaceae
สกุล:
Elettariopsis
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:43 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:43 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 35 ซม. มีใบ 2 ใบ รูปใบหอกแคมหรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเกิดจากเหง้าใกล้โคนต้น ดอกสีขาวเจือสีแดงหรือเหลือง กลีบปากมีก้านสั้น ปลายกว้าง มี 3 พู กลีบสีขาวมีแถบสีเหลืองกลางกลีบ โคนกลีบมีเส้นสีแดงและมีขนสั้น
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 35 ซม. มีใบ 2 ใบ รูปใบหอกแคมหรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเกิดจากเหง้าใกล้โคนต้น ดอกสีขาวเจือสีแดงหรือเหลือง กลีบปากมีก้านสั้น ปลายกว้าง มี 3 พู กลีบสีขาวมีแถบสีเหลืองกลางกลีบ โคนกลีบมีเส้นสีแดงและมีขนสั้น
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 35 ซม. มีใบ 2 ใบ รูปใบหอกแคมหรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเกิดจากเหง้าใกล้โคนต้น ดอกสีขาวเจือสีแดงหรือเหลือง กลีบปากมีก้านสั้น ปลายกว้าง มี 3 พู กลีบสีขาวมีแถบสีเหลืองกลางกลีบ โคนกลีบมีเส้นสีแดงและมีขนสั้น
-
ส่วนเหนือดินสูง 30 - 35 ซม. มีใบ 2 ใบ รูปใบหอกแคมหรือรูปรี ปลายใบแหลม โคนใบสอบเรียว ผิวใบเกลี้ยง ช่อดอกเกิดจากเหง้าใกล้โคนต้น ดอกสีขาวเจือสีแดงหรือเหลือง กลีบปากมีก้านสั้น ปลายกว้าง มี 3 พู กลีบสีขาวมีแถบสีเหลืองกลางกลีบ โคนกลีบมีเส้นสีแดงและมีขนสั้น
การกระจายพันธุ์ :
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดบึงกาฬ
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดบึงกาฬ
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดบึงกาฬ
-
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่จังหวัดบึงกาฬ
ที่มาของข้อมูล
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาและประเมินสถานภาพความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย 2563
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Calyptothecium burmense
Aspidistra subrotata
กระดูกอึ่ง
Dicerma biarticulatum
Acanthocladium longipilum
ใต้ใบใหญ่
Sauropus amabilis
ข้าวสารดอกเล็ก
Raphistemma hooperiana
Previous
Next