Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Elaeocarpus hygrophilus
Elaeocarpus hygrophilus
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Elaeocarpus hygrophilus
Kurz
Status:
ACCEPTED
Synonyms
- Elaeocarpus madopetalus Pierre
ชื่อไทย::
-
มะกอกน้ำ
ชื่อท้องถิ่น::
-
สารภีน้ำ สีชัง
-
มะกอกน้ำ สารภีน้ำ สมอพิพ่าย
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Magnoliopsida
อันดับ:
Oxalidales
วงศ์::
Elaeocarpaceae
สกุล:
Elaeocarpus
วันที่อัพเดท :
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
วันที่สร้าง:
17 ส.ค. 2563 09:25 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
-
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ใบเป็นใบเดี่ยว รูปขอบขนานหรือรูปไข่กลับ กว้าง 2.5-5 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ปลายใบป้านหรือมน ผิวใบเกลี้ยง ก้านใบออกสีแดง ยาว 0.5-2 ซม. ดอกสีขาวครีม ออกเป็นช่อตามซอกใบ ช่อดอกยาว 2-10 ซม. ก้านดอกยาว 2-7 ซม. ดอกห้อยลงคล้ายระฆัง ขนาด 4-8 มม. กลีบดอกจำนวน 5 กลีบ รูปไข่กลับ กว้าง 3-4 มม. ยาว 5-8 มม. ปลายกลีบเป็นฝอยเล็กยาวประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวกลีบ เกสรผู้จำนวน 15-25 อัน อยู่ภายในดอก ผลทรงรียาว กว้าง 1.5-2 ซม. ยาว 3-4 ซม. ผิวเรียบเกลี้ยง ปลายแหลม ก้านผลยาว 0.7-1 ซม. เมล็ดแข็งรูปกระสวย ผิวขรุขระมี 1 เมล็โ
การกระจายพันธุ์ :
-
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
-
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
-
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
-
พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกทั่วไป ออกดอกและติดผลช่วงเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ทุ่งใหญ่นเรศวร
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าพระนครเหนือ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา :
-
ต้นมะกอกน้ำ มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกกันทั่วไป[4] โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบแต่ไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มโปร่ง มีรูอากาศเป็นแนวยาว เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบเป็นสีน้ำตาล มีรอยแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตื้น ๆ ตามความยาวของลำต้น ตามกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน
-
ต้นมะกอกน้ำ มีเขตการกระจายพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบได้บริเวณริมน้ำและลำห้วย ปัจจุบันนิยมปลูกกันทั่วไป[4] โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบแต่ไม่พร้อมกัน มีความสูงของต้นประมาณ 8-15 เมตร แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มโปร่ง มีรูอากาศเป็นแนวยาว เปลือกลำต้นค่อนข้างเรียบเป็นสีน้ำตาล มีรอยแตกเป็นร่องเล็ก ๆ ตื้น ๆ ตามความยาวของลำต้น ตามกิ่งมีรอยแผลใบชัดเจน
การขยายพันธุ์ :
-
1. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การเพาะเมล็ด
-
1. การตอนกิ่ง
2. การปักชำ
3. การเพาะเมล็ด
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
กาญจนบุรี, ตาก
-
ลำปาง
-
นนทบุรี
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1103375
1103375
2
PRJNA1034256
1034256
3
PRJNA1013695
1013695
4
PRJNA975213
975213
5
PRJNA943695
943695
6
PRJNA942651
942651
7
PRJNA864203
864203
8
PRJNA852057
852057
9
PRJNA827437
827437
10
PRJNA775548
775548
11
PRJNA748537
748537
12
PRJNA732813
732813
13
PRJNA731248
731248
14
PRJNA725632
725632
15
PRJNA721232
721232
16
PRJNA717606
717606
17
PRJNA707705
707705
18
PRJEB42302
700049
19
PRJNA691638
691638
20
PRJNA691090
691090
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
บริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Oreocnide rubescens
Isachne schmidtii
Boerhavia repens
กล้วยร้อยหวี
Musa chiliocarpa
กระเจานา
Corchorus aestuans
Gladiolus x
Previous
Next