Toggle navigation
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
สัตว์
พืช
จุลินทรีย์ และ สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
เกี่ยวกับ TH-BIF
การพัฒนา TH-BIF
หน่วยงานเครือข่ายที่สนับสนุนข้อมูล
การจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิต
แนวทางปฏิบัติในการสร้างธรรมมาภิบาลข้อมูลของระบบคลังข้อมูลฯ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
แผนที่แสดงข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย
ข้อมูลเชิงพื้นที่ของพื้นที่นำร่อง
ข้อมูลสำรวจ
ข้อมูลเฉพาะเรื่อง
สถานภาพการคุกคาม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
พรรณพืชและพรรณสัตว์ในพระนาม
สถานะอนุสัญญา CITES
ผู้เชี่ยวชาญ
ทำเนียบผู้เชี่ยวชาญ
ลงทะเบียนผู้เชี่ยวชาญ
ข่าวประชาสัมพันธ์
ติดต่อเรา
เอกสารเผยแพร่
แบบประเมินผลความพึงพอใจ
LOGIN
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
หน้าแรก
ข้อมูลสิ่งมีชีวิต
Eichhornia crassipes
Eichhornia crassipes
ชื่อวิทยาศาสตร์แบบเต็ม:
Eichhornia crassipes
Solms
Status:
SYNONYM
ชื่อสามัญ::
-
Common water hyacinth
ชื่อไทย:
-
ผักตบชวา
ชื่อท้องถิ่น::
-
ผักป่อง ผักตบ สวะ Water hyacinth
อาณาจักร::
Plantae
ไฟลัม::
Tracheophyta
ชั้น::
Liliopsida
อันดับ:
Commelinales
วงศ์::
Pontederiaceae
สกุล:
Eichhornia
ที่มา :
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปรับปรุงล่าสุด :
30 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ปรับปรุงล่าสุด :
28 มิ.ย. 2566
ที่มา :
ศิริพร ซึงสนธิพร , มานพ ผู้พัฒน์
ปรับปรุงล่าสุด :
12 ธ.ค. 2561
วันที่อัพเดท :
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
วันที่สร้าง:
25 มิ.ย. 2562 00:00 น.
ข้อมูลทั่วไป
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
-
ไม้น้ำล้มลุก รากจำนวนมาก ยาวได้ถึง 1 ม. ลำต้นสั้น มีไหลยาว ใบออกเป็นกระจุก รูปไข่กว้าง รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด หรือกลม ยาว 4.5-14.5 ซม. โคนรูปหัวใจ แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบจำนวนมาก ก้านใบอวบ ยาว 10-40 ซม. ด้านในเป็นฟองน้ำ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านยาว 35-45 ซม. มี 7-15 ดอก เรียงเวียน ใบประดับขนาดเล็ก ดอกสมมาตรด้านข้าง ไร้ก้าน กลีบรวมสีม่วง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กลีบบนกลางกลีบมีสีเหลืองแต้ม ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง เกสรเพศผู้มี 6 อัน ยาว 3 อัน สั้น 3 อัน ติดที่โคนกลีบรวม ก้านชูอับเรณูมีขนต่อม รังไข่ 3 ช่อง ออวุลจำนวนมาก เกสรเพศเมียต่างสัณฐาน ยอดเกสรจักเป็นพูตื้น มีขนต่อม ผลแห้งแตก รูปไข่ มีหลอดกลีบรวมแห้งหุ้ม เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปีกตามยาว
-
พืชลอยน้ำ อายุหลายปี ลำต้นสั้น แตกใบเป็นกอ ใบเดี่ยว รูปไข่ หรือเกือบกลม โคนใบเว้าเข้าหาก้านใบ ก้านใบกลมอวบน้ำ ตรงกลางพองออก ภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำช่วยให้ลอยน้ำได้ ดอกออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายยอด ดอกย่อย ๓ - ๒๕ ดอก มีกลีบรวม ๖ กลีบ กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น และมีแต้มสีเหลืองที่กลางกลีบ เกสรเพศผู้ ๖ อัน ผล แบบผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก แบ่งเป็น ๓ พู เมื่อแก่แตกกลางพู เมล็ดกลมขนาดเล็ก จำนวนมาก
-
พืชน้ำล้มลุก ทั้งต้นลอยที่ผิวน้ำ สูง ๑๕-๕๐ เซนติเมตร ขยายพันธุ์ได้ดีด้วยการแตกหน่อเกิดเป็นต้นใหม่ แต่ก็สามารถติดเมล็ดได้ซึ่งมีขนาดเล็กมาก กระจายไปตามแหล่งน้ำทั่วประเทศ ที่ระดับความสูงไม่เกิน ๗๐๐ เมตร โดยเฉพาะตามแหล่งน้ำนิ่งหรือไหลช้าจะพบมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว
-
พืชลอยน้ำ อายุหลายปี ลำต้นสั้น แตกใบเป็นกอ ใบเดี่ยว รูปไข่ หรือเกือบกลม โคนใบเว้าเข้าหาก้านใบ ก้านใบกลมอวบน้ำ ตรงกลางพองออก ภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำช่วยให้ลอยน้ำได้ ดอกออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายยอด ดอกย่อย ๓ - ๒๕ ดอก มีกลีบรวม ๖ กลีบ กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น และมีแต้มสีเหลืองที่กลางกลีบ เกสรเพศผู้ ๖ อัน ผล แบบผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก แบ่งเป็น ๓ พู เมื่อแก่แตกกลางพู เมล็ดกลมขนาดเล็ก จำนวนมาก
-
พืชลอยน้ำ อายุหลายปี ลำต้นสั้น แตกใบเป็นกอ ใบเดี่ยว รูปไข่ หรือเกือบกลม โคนใบเว้าเข้าหาก้านใบ ก้านใบกลมอวบน้ำ ตรงกลางพองออก ภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำช่วยให้ลอยน้ำได้ ดอกออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายยอด ดอกย่อย ๓ - ๒๕ ดอก มีกลีบรวม ๖ กลีบ กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น และมีแต้มสีเหลืองที่กลางกลีบ เกสรเพศผู้ ๖ อัน ผล แบบผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก แบ่งเป็น ๓ พู เมื่อแก่แตกกลางพู เมล็ดกลมขนาดเล็ก จำนวนมาก
-
พืชลอยน้ำ อายุหลายปี ลำต้นสั้น แตกใบเป็นกอ ใบเดี่ยว รูปไข่ หรือเกือบกลม โคนใบเว้าเข้าหาก้านใบ ก้านใบกลมอวบน้ำ ตรงกลางพองออก ภายในเป็นช่องอากาศคล้ายฟองน้ำช่วยให้ลอยน้ำได้ ดอกออกเป็นช่อแบบช่อเชิงลดที่ปลายยอด ดอกย่อย ๓ - ๒๕ ดอก มีกลีบรวม ๖ กลีบ กลีบบนสุดขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่น และมีแต้มสีเหลืองที่กลางกลีบ เกสรเพศผู้ ๖ อัน ผล แบบผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก แบ่งเป็น ๓ พู เมื่อแก่แตกกลางพู เมล็ดกลมขนาดเล็ก จำนวนมาก
-
ไม้น้ำล้มลุก รากจำนวนมาก ยาวได้ถึง 1 ม. ลำต้นสั้น มีไหลยาว ใบออกเป็นกระจุก รูปไข่กว้าง รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด หรือกลม ยาว 4.5-14.5 ซม. โคนรูปหัวใจ แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบจำนวนมาก ก้านใบอวบ ยาว 10-40 ซม. ด้านในเป็นฟองน้ำ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านยาว 35-45 ซม. มี 7-15 ดอก เรียงเวียน ใบประดับขนาดเล็ก ดอกสมมาตรด้านข้าง ไร้ก้าน กลีบรวมสีม่วง 6 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ กลีบบนกลางกลีบมีสีเหลืองแต้ม ขนาดใหญ่กว่ากลีบล่าง เกสรเพศผู้มี 6 อัน ยาว 3 อัน สั้น 3 อัน ติดที่โคนกลีบรวม ก้านชูอับเรณูมีขนต่อม รังไข่ 3 ช่อง ออวุลจำนวนมาก เกสรเพศเมียต่างสัณฐาน ยอดเกสรจักเป็นพูตื้น มีขนต่อม ผลแห้งแตก รูปไข่ มีหลอดกลีบรวมแห้งหุ้ม เมล็ดขนาดเล็กจำนวนมาก มีปีกตามยาว
การกระจายพันธุ์ :
-
เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปการกระจายพันธุ์ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
-
เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปการกระจายพันธุ์ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
-
เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปการกระจายพันธุ์ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
-
เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไปการกระจายพันธุ์ เป็นพืชพื้นเมืองของทวีปอเมริกาใต้ ในประเทศไทยพบได้ทั่วไป
รายละเอียดอื่นๆ ของแหล่งที่พบ :
-
พื้นที่ชุ่มน้ำหนองบงคาย
-
พื้นที่ป่าอนุรักษ์ของประเทศไทย/กลุ่มป่าแก่งกระจาน (อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน อุทยานแห่งชาติกุยบุรี อุทยานแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแม่น้ำภาชี)
-
บริเวณโดยรอบโรงไฟฟ้าและเหมืองแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
ถิ่นกำเนิด :
-
เขตร้อนในทวีปแอฟริกา
แหล่งที่พบภายในประเทศ :
-
เพชรบุรี,ประจวบคีรีขันธ์,ราชบุรี
-
อ่างเก็บน้ำหนองบัว/มหาสารคาม
-
ลำปาง
ข้อมูลการนำไปใช้ประโยชน์
รายละเอียดการนำมาใช้ประโยชน์ :
-
ใช้สอย
ข้อมูลพันธุกรรมอ้างอิง
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
1
PRJNA1062020
1062020
2
PRJNA1057514
1057514
3
PRJNA1056320
1056320
4
PRJNA1031394
1031394
5
PRJNA1018202
1018202
6
PRJNA987371
987371
7
PRJNA947841
947841
8
PRJNA929687
929687
9
PRJNA926139
926139
10
PRJNA862356
862356
11
PRJNA631882
631882
12
PRJNA564908
564908
13
PRJNA472228
472228
14
PRJNA448487
448487
15
PRJNA427679
427679
16
PRJNA358654
358654
17
PRJNA270908
270908
Number
Accession number
Bioproject
DNA fingerprint
ที่มาของข้อมูล
กลุ่มงานพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
รายงาน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำของประเทศไทย: การจัดทำแนวทางการปฏิบัติที่ดีในการฟื้นฟูและบริหารจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำในเมือง (ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ชุ่มน้าของประเทศไทย สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2561
สำนักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
องค์การสวนพฤกษศาสตร์
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เรื่อง มาตรการป้องกัน ควบคุม และกำจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
หน่วยงานผู้นำเข้าข้อมูล
สิ่งมีชีวิตที่เกี่ยวข้อง
Boesenbergia curtisii
Diphyscium rupestre
Pseuduvaria trimera
Asplenium saxicola
Sonerila repens
Commelina paludosa
Previous
Next